กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางธนาทิพย์ หอมระหัด

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-16 เลขที่ข้อตกลง 38/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 72 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถิติปี 2563 พบมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งเต้านม โดยพบผู้ป่วยใหม่ ปีละกว่า 9,000 ราย และเสียชีวิตปีละ 4,700 ราย หรือในแต่ละวันจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกสูงถึง 13 คน ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อ Human Papillomavirus หรือ HPV สายพันธุ์ความเสี่ยงสูงซึ่งมีไม่ต่ำกว่า 14 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ 16 และ 18 เป็นสายพันธุ์ที่พบบ่อยที่สุด โดยพบสูงถึงร้อยละ 70 การติดเชื้อไวรัสนี้เกือบทั้งหมดเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ โดยเชื้อไวรัสจะเข้าทางผิวที่มีรอยแผล หรือรอยถลอกเล็ก ๆ ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ที่ติดเชื้อไวรัสนี้จะหายได้เองภายใน 2 ปีโดยภูมิต้านทานของร่างกาย ในกรณีที่เชื้อไวรัสนี้ไม่หายไป และเป็นการติดเชื้อแบบฝังแน่นเป็นระยะเวลานาน 5-10 ปี ทำให้เซลล์ปากมดลูกมีความผิดปกติ และอาจกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกในที่สุด ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคม และครอบครัวตามมาอย่างมากมาย แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ 30 – 40สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงทีและอาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก 2 – 3 ปี เมื่อผลตรวจคัดกรองปกติทุกครั้ง 3 ครั้ง/3 ปีติดต่อกัน ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค , อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง จากปีที่ผ่านมาประชาชนที่เข้ารับการตรวจคัดกรองมีจำนวนน้อยและมีอัตราป่วยสูงขึ้น โดยข้อมูลผู้มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ณ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ในปี 2563 จำนวน 35 คน ในปี 2564 จำนวน 41 คน และในปี 2565 จำนวน 2 คน ทางศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านมะเร็งปากมดลูกเพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจในกลุ่ม อสม.เพื่อเป็นแกนนำสุขภาพให้กับกลุ่มประชาชนวัยเจริญพันธ์ โดยมีการตรวจ HPV DNA ค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในหญิงวัยเจริญพันธ์มากขึ้น
  2. เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่อสม.วัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ อสม.วัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ1

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.ที่เป็นหญิงวัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ1 72

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.วัยเจริญพันธ์ ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. อสม.วัยเจริญพันธ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมมากขึ้้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในหญิงวัยเจริญพันธ์มากขึ้น
ตัวชี้วัด : มีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมใน อสม.ที่เป็นหญิงวัยเจริญพันธ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
20.00 70.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : อสม.ที่เป็นหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมมากขึ้นร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อสม.ที่เป็นหญิงวัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ1 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในหญิงวัยเจริญพันธ์มากขึ้น (2) เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่อสม.วัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ อสม.วัยเจริญพันธ์ในเขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ1

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกใน อสม. เขตศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธนาทิพย์ หอมระหัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด