กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน


“ โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายยงยุทธ์ ชูวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 3 เลขที่ข้อตกลง 3

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยนับจากตั้งแต่ปี 2548 แล้ว เมื่อสัดส่วนประชากรสูงอายุสูงขึ้นร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยกำลังจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ เมื่อประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ 20 ในปี 2564 และคาดว่าจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในอีกไม่ถึง 20 ปีข้างหน้าเมื่อประชากรอายุ 60 ขึ้นไปมีส่วนสัดส่วนถึงร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุมีชีวิตยืนยาวขึ้น
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุด้านการดูแลสุขภาพ มีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยัง แข็งแรงมีการเจ็บป่วยโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคม อย่างมีศักดิ์ศรีและผู้สูงอายุเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียมกัน
สังคมสูงวัย จำเป็นต้องพัฒนาผู้สูงอายุให้แข็งแรงทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ซึ่งจะส่งผลให้เป็นสังคมศูนย์รวมผู้สูงวัยที่ห่วงใยใส่ใจกันและกัน เพื่อขับเคลื่อนพลังผู้สูงอายุในยุคนี้ จะประกอบไปด้วยการพัฒนาที่มีปัจจัยสำคัญดังนี้ ด้านสุขภาพร่างกาย การพัฒนาตัวผู้สูงอายุให้มีความแข็งแรงทางร่างกายอันจะส่งผลให้เกิดความเข้มแข็งทางจิตใจด้วย ด้านสิ่งแวดล้อมและอารมณ์สภาพแวดล้อมที่ดีย่อมก่อให้เกิด ความปลอดภัยและเอื้อต่อการมีสุขภาพดีที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ควรสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่จะทำให้คนในชุมชนให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน การเป็นแบบอย่างที่ดี ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีเป็นที่น่านับถือต่อคนในชุมชนและสังคม การถ่ายทอดประสบการณ์ การให้ความสำคัญกับประสบการณ์เหล่านั้นของผู้สูงอายุทำให้เกิดเป็นสิ่งที่น่าสนใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการเสริมสร้างความผาสุกแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างความรู้ให้กับผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพของตนเองด้านร่างกาย มีความเข้มแข็ง ในจิตใจยอมรับความจริง มีเป้าหมายในชีวิต มีความหวัง ยอมรับ และพึงพอใจในสิ่งที่เป็นอยู่ สามารถบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเอง และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  2. เพื่อสร้างความผาสุขด้านจิตวิญญาณของกลุ่มเป้าหมายตามหลักธรรมศาสนาอิสลาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณตามหลักศาสนาอิสลาม
  2. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  3. สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดุแลตนเองสำหรับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผุู้สูงอายุมึความรู้เรืองการดูแลสุขภาพตนเอง
-ผู้สูงอายุได้พบปะสังสรรค์ เกิดความความสัมพันธ์ที่ดี ผ่อนคลายความเครียด -ผู้สูงอายเกิดความผาสุกด้านจิตวิญญาณ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดุแลตนเองสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างความผาสุกด้านจิตวิญญาณ ตามหลักศาสนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุเกิดความสัมพันธ์ที่ดี ผ่อนคลายความเครียด

 

0 0

2. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงคณะทำงานเพื่อสร้างความรูความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผูสูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

0 0

3. เสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณตามหลักศาสนาอิสลาม

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองให้ดำเนินชีวิตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ผู้สูงอายุได้พบปะสังสรรค์ เกิดความสัมพันธ์ที่ดี ผ่อนคลายความเครียด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเอง และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ในการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลตนเอง ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อสร้างความผาสุขด้านจิตวิญญาณของกลุ่มเป้าหมายตามหลักธรรมศาสนาอิสลาม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมสนทนาธรรมตามหลักศาสนาอิสลาม ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเอง และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข (2) เพื่อสร้างความผาสุขด้านจิตวิญญาณของกลุ่มเป้าหมายตามหลักธรรมศาสนาอิสลาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริมสร้างความผาสุกทางจิตวิญญาณตามหลักศาสนาอิสลาม (2) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (3) สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดุแลตนเองสำหรับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างความผาสุขแก่ผู้สูงอายุ แบบองค์รวม ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยงยุทธ์ ชูวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด