กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาลียะ มะเย็ง

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-2-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2566 - 28 กุมภาพันธ์ 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นักเรียนระดับมัธยมศึกษา คือ ก้าวแรกของการก้าวสู่วัยรุ่นบางคนอาจจะแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในหลายๆสถานการณ์อาจเนื่องมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือขาดผู้ให้คำปรึกษาที่ดีไม่ว่าจะเป็นในด้านความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับครอบครัว การให้กำลังใจ การหาอาชีพการงาน รวมทั้งเรื่องสุขภาพเช่น การบริโภคอาหาร การเอาใจใส่สิ่งแวดล้อม การป้องกันโรค เป็นต้น ซึ่งมีผลในการดำรงชีวิต ปัจจุบันเด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่ค่อยใส่ใจสุขภาพตนเอง วัยรุ่นบางกลุ่มที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งอบายมุขทั้งหลายเช่น สารเสพติด เป็นต้น
โรงเรียนแสงธรรม (ยสร.) จำนวน ๔๐ คน ได้ผ่านการอบรมแกนนำเยาวชนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน จากบุคคลากรด้านสาธารณสุขโดยมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน แต่ด้วยกำลังและความรู้ที่มีอยู่จำกัดทำให้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานให้ทั่วถึงและครอบคลุมทั่วโรงเรียน
ดังนั้นด้วยเหตุผลดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีของวัยรุ่นในวัยเรียนแกนนำเยาวชนสาธารณสุขของโรงเรียนแสงธรรมวิทยา จึงได้จัดทำโครงการวัยรุ่น ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ไม่มีสารตกค้างและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
  2. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 360
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง ไม่มีสารตกค้างและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสำหรับตัวเอง
  2. เยาวชนมีความรู้เรื่่องเพศสัมพันธ์ สุขภาพจิตในวัยรุ่น และยาเสพติด สามารถป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนโรงเรียนแสงธรรม จำนวน 360 คน , แกนนำเยาวชนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน(ยสร.)และครูพยาบาลรวม 40 คน รวมทั้งสิ้น 400 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประสานวิทยากรจากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
2. ประสานวิทยากรจากกองปราบปรามยาเสพติดสุไหงโก-ลก
3. จัดอบรมแก่นักเรียนทั้งหมด 360 คน โดยแบ่งเป็น 3 รุ่น รุ่นละ 120 คน โดยจัดอบรมรุ่นละ 1 วัน
กำหนดการ วันที่ 17 - 18 มกราคม 2566
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.31 - 08.45 น. เตรียมความพร้อม
08.46 - 09.00 น. เปิดพิธี
09.01 - 10.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง สุขภาพและเพศสัมพันธ์ วิทยากร เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขสุไหงโก-ลก (วิทยากรบรรยาย)
10.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง สุขภาพจิตของวัยรุ่น วิทยากร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก แผนกจิตเวช (วิทยากรบรรยาย)
12.01 - 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวันพร้อมละหมาด
13.31 - 14.30 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารและยา แบ่งออกเป็น 3 ฐาน
1. ทดสอบสารบอแร็กซ์
2. ทดสอบกรดซาลิชิลิค
3. ทดสอบสารไฮโดรควิโนน (วิทยากรกลุ่ม กลุ่มละ 2 คน)
14.31 - 15.20 น. กิจกรรมนันทนาการ
15.21 - 15.40 น. ปิดพิธี
กำหนดการ วันที่ 19 มกราคม 2566
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.31 - 08.45 น. เตรียมความพร้อม
08.46 - 09.00 น. เปิดพิธี
09.01 - 10.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง สุขภาพและเพศสัมพันธ์ วิทยากร เจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขสุไหงโก-ลก (วิทยากรบรรยาย)
10.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติด วิทยากร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก แผนกจิตเวช (วิทยากรบรรยาย)
12.01 - 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวันพร้อมละหมาด
13.31 - 14.30 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารและยา แบ่งออกเป็น 3 ฐาน
1. ทดสอบสารบอแร็กซ์
2. ทดสอบกรดซาลิชิลิค
3. ทดสอบสารไฮโดรควิโนน (วิทยากรกลุ่ม กลุ่มละ 2 คน)
14.31 - 15.20 น. กิจกรรมนันทนาการ
15.21 - 15.40 น. ปิดพิธี
งบประมาณ
1. ค่าอาหารกลางวัน (เด็กนักเรียน)  21,600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เด็กนักเรียน)  21,600 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน (แกนนำ ยสร. และครูพยาบาล)  7,200 บาท
4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (แกนนำ ยสร. และครูพยาบาล)  7,200 บาท
5. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย  5,400 บาท
6. ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม  5,400 บาท
7. ค่าป้ายโครงการ  1,200 บาท
8. วัสดุอบรม  3,000 บาท
9. กระเป๋าผ้าลดโลกร้อน  27,000 บาท
10. ชุดทดสอบอาหาร
10.1 สารบอแร็กซ์  580 บาท
10.2 ซาลิชิลิค  700 บาท
10.3 ไฮโดรซัลไฟล์  420 บาท
10.4 คอร์ลีฟอร์ในน้ำดื่ม  890 บาท
10.5 คอร์ลีฟอร์แบคทีเรียตรวจภาชนะผู้บริโภคอาหาร  670 บาท
10.6 สารไฮโดรควิโนน  1,700 บาท
รวมเป็นเงิน  4,960 บาท
งบประมาณ  104,560 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ไม่มีสารตกค้างและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ไม่มีสารตกค้างและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
50.00 70.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้
70.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 360
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 360
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ไม่มีสารตกค้างและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย (2) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเสพติดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นแสงธรรมยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาลียะ มะเย็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด