กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอนงค์ อัลยุฟรี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-09 เลขที่ข้อตกลง 025/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ “ชราธิวาส” จังหวัดนราธิวาส ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้สามารถดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุชภาพได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีที่ผู้สูงอายุชาวนราธิวาสจะได้รับการดูแลทางด้านสาธารณสุขแบบครบวงจรสุขภาพช่องปากยังเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดี ช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปาก จะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้นจำเป็นที่ต้องดูแลสุขภาพในช่องปากประชาชนให้ปราศจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกำจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่มและคงสภาพที่ดีไว้ ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมาก เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากโรคในช่องปาก เป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้มีทันตสุขนิสัยที่ดี การส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากในผู้สูงอายุได้ จากการตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเขตตำบลกะลุวอ ปี 2564 พบผู้สูงอายุมีฟันผุ ร้อยละ 55.74 และพบผู้สูงอายุที่มีเหงือกอักเสบ ร้อยละ 52.59 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฯ นี้ขึ้น การแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุขซึ่งต้องกำหนดพัฒนางานทันตสาธารณสุขโดยให้กิจกรรมที่ดำเนินการสอดคล้องกับสาเหตุครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานทั้งการสร้างเสริมป้องกันทันตสุขภาพและรักษาทางทันตกรรมเป้าหมายหลักของการดูแลสุขภาพช่องปากคือการเก็บรักษาฟันไว้เพื่อการใช้งานตลอดชีวิต ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้วัย ปี 2566 ขึ้นเพื่อส่งเสริมป้องกันและเฝ้าระวังโรคในช่องปาก รวมทั้งเพื่อบำบัดรักษาโรคในช่องปากได้อย่างทันท่วงที ป้องกันการสูญเสียฟันในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้สูงอายุมีฟันผุลดลง
  2. ผู้สูงอายุมีเหงือกอักเสบลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. มาตรวจฟันกันเถอะ
  2. อบรมให้ความรู้ การดูเเลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี
  3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นและปัญหาฟันผุลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. มาตรวจฟันกันเถอะ

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุ โดยทันตบุคลากร พร้อมบันทึกลงสมุดบันทึกสภาวะทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) : ผู้สูงอายุได้เข้ารับการตรวจสุขภาพฟัน จำนวน 150  คน ผลลัพธ์ (Outcome) : ผู้สูงอายุได้ตรวจสุขภาพฟัน 100  เปอร์เซ็นต์

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้ การดูเเลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 18 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม -ประสานงานกับเจ้าหน้าทันตสาธารณสุข มาอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ พร้อมแนะนำวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) : ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  150  คน ผลลัพธ์ (Outcome) : ผู้สูงอายุมีความรู้ เรื่องการดูเเลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี
  3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นและปัญหาฟันผุลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้สูงอายุมีฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุตำบลกะลุวอมีฟันผุลดลงกว่าเดิม
55.74 50.00 18.00

พบผู้สูงอายุ ฟันผุ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 27

2 ผู้สูงอายุมีเหงือกอักเสบลดลง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุตำบลกะลุวอมีเหงือกอักเสบลดลงกว่าเดิม
52.59 50.00 47.00

พบผู้สูงอายุ ฟันผุ จำนวน 47 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.3

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้สูงอายุมีฟันผุลดลง (2) ผู้สูงอายุมีเหงือกอักเสบลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มาตรวจฟันกันเถอะ (2) อบรมให้ความรู้ การดูเเลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงวัย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอนงค์ อัลยุฟรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด