โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง 30/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,019.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ชุมมชนเป็นฐานหลักของสังคม แนวคิดการพัฒนาระดับชุมชนและท้องถิ่นให้เข้มแข็ง น่าอยู่ ปลอดภัย มีพัฒนาการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ทั้งด้านสังคม การศึกษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม จะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดี ชุมชนจะเข้มแข็ง น่าอยู่ และพึ่งตนเองได้ ต้องอาศัยความรับผิดชอบ การเรียนรู้ ร่วมคิดร่วมทำ ตลอดจนอาศัยความร่วมมือไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิด ปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการพึ่งตนเอง เป็นสังคมเอื้ออาทร พึ่งพาอาศัยกันได้ ระบบสุขภาพโดยการส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมบุคคล สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างให้สังคม ครอบครัวและชุมชนมีสุขภาวะและมีคุณภาพชีวิตที่ดีและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อประโยชน์สุขของการอยู่ร่วมกัน ในแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ว่าด้วย การสร้างเสริมสุขภาพให้เป็นไปเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั่วทั้งสังคม ลดการเจ็บป่วย ความพิการและการตายที่ไม่สมควร
สำหรับในพื้นที่ตำบลบ้านควน พบว่า ในช่วงที่ผ่านมากลุ่ม/ชมรม/ประชาคม ได้ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพในกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ มีการดำเนินกิจกรรมที่หลากหลายทั้งด้านสุขภาพโดยตรง การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้น ส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ของชมรมสุขภาพ ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างกระแสให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป
กลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมานได้จัดโครงการดังกล่าวขึ้น โดย มีกิจกรรมหน่วยแพทย์แผนไทย การนวดฝ่าเท้า/นวดเพื่อสุขภาพ การบริการน้ำดื่มสมุนไพรฟรี นอกจากนี้ยังมีร้านอาหารพื้นบ้านที่เน้นอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพมาจัดจำหน่าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้ความรู้และควบคู่กับการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลบ้านควน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนและให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชนตำบลบ้านควน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน
- เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย
- รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
- ตลาดนัดสุขภาพ
- เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพ และองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ
2.ประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกล่มต่างๆในชุมชน เชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายประจำหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนให้ความสนใจในการสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น
0
0
2. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 8 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน ได้แต่งตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ
0
0
3. คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 20 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คณะทำงานร่วมกันคัดกรองค้นหากลุ่มเป้าหมาย โดยนัดประชุมตัวแทนแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 35 คน
0
0
4. ตลาดนัดสุขภาพ
วันที่ 6 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการของแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้จากการเรียนรู้ฐานต่างๆ
0
0
5. เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลังจากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านเครื่องมือต่างๆ เช่น การสัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมในวิถีประจำวันและกิจกรรมทางสัมคมรวมถึงการสะท้อนข้อมูลทั้งหมดร่วมกันในกลุ่ม องค์กรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ถึงวาระการคืนข้อมูลให้กับชุมชน ในรูปแบบการจัดเวทีพูดคุยเสาวนาร่วมกันจากตัวแทนใรองค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการจัดกิจกรรมตามโครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนแต่งตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบโครงการ มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน
กิจกรรมคัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมายโดยคณะทำงานร่วมกันคัดกรองค้นหากลุ่มเป้าหมาย โดยนัดประชุมตัวแทนแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน ได้แก่ กลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มแกนนำจัดการขยะมูลฝอย โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ศพด.บ้านทุ่งวิมาน กลุ่มอนุรักษ์วัฒนธธรรมพื้นบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มละ 5 คน เข้าร่วมพูดคุย หารือ ร่วมกัน วางแผน รูปแบบวิธีการจัดกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 35 คน กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยวิธีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รถแห่ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมและรณรงค์การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง ไตรมาสละ 1 ครั้ง พูดคุยเสียงตามสายประจำหมู่บ้านทุกๆเย็นวันศุกร์ ประชาสัมพันธ์ตามตลาดนัดในหมู่บ้าน ในช่วงเทศกาลต่างๆ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ
กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ จัดขึ้น ในวันที่ 6 กันยายน 2566 ณ โคกหนองนาโมเดล หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเยาวชนคนตนแบบบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มแกนนำจัดการขยะมูลฝอย โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ศพด.บ้านทุ่งวิมาน กศน.ตำบลบ้านควน ซึ่งมีฐานต่างๆ ฐานการออกกำลังกาย ฐานน้ำดื่มสมุนไพร ฐานการนวดแพทย์แผนไทย ฐานผักปลอดสารพิษ ฐานอาหารพื้นบ้าน ฐานคัดแยกขยะรีไซเคิล ฐานตรวจสุขภาพเบื้องต้น ฐานป้องกันควบคุมโรค มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน โดยมีบู๊ธต่างๆ ดังนี้
-จัดบู๊ธให้ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและบริการสร้างสุขภาพ
-จัดบู๊ธจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร ผักผลไม้ปลอดสารพิษ
-จัดบู๊ธให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย
-การจัดบู๊ธบริการสร้างเสริมสุขภาพ มีจัดกิจกรรมการดำเนินการร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบล บ้านควนและองค์กรในชุมชน ในอันที่จะสร้างเสริมสุขภาพ ให้กับประชาชน ได้แก่ การจัดนิทรรศการในประเด็นการให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย,อาหารปลอดภัย ,การกำจัดขยะการพัฒนาชุมชน การรณรงค์ลดโลกร้อน ,โทษและพิษภัยของบุหรี่ ยาเสพติดอื่นๆ,การให้บริการตรวจสุขภาพโดยทีมสุขภาพ เช่น การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดส่วนสูง การประเมินค่าดัชนีมวลกาย ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด การออกกกำลังกายโดยสาธิตการเต้นแอโรบิค เล่นฮูลาวูป การบริการนวดการแพทย์แผนไทย ได้แก่การนวด อบ ประคบ และ บริการน้ำ สมุนไพรฟรี
จากการผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ในวันที่ 6 กันยายน 2566 ณ โคกหนองนาโมเดล หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพออยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.60 แยกเป็นรายกิจกรรม ดังนี้
1.เนื้อหาโครงการตรงตามวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย 4.38
2.รูปแบบและวิธีจัดโครงการมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ย 4.23
3.ระยะเวลาในการจัดโครงการ มีค่าเฉลี่ย 3.93
4.ท่านสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีค่าเฉลี่ย 4.33
5.ภาพรวมทั้งหมดของกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 4.23
ผลจากการจัดกิจกรรมในครั้งทำให้ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพ และองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพและประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนตำบลบ้านควนมีการดูแลสุขภาพตนเอง
50.00
80.00
80.00
2
เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ร้อยละ 80
50.00
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน (2) เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย (3) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ (4) ตลาดนัดสุขภาพ (5) เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง 30/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,019.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ชุมมชนเป็นฐานหลักของสังคม แนวคิดการพัฒนาระดับชุมชนและท้องถิ่นให้เข้มแข็ง น่าอยู่ ปลอดภัย มีพัฒนาการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ทั้งด้านสังคม การศึกษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม จะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดี ชุมชนจะเข้มแข็ง น่าอยู่ และพึ่งตนเองได้ ต้องอาศัยความรับผิดชอบ การเรียนรู้ ร่วมคิดร่วมทำ ตลอดจนอาศัยความร่วมมือไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิด ปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการพึ่งตนเอง เป็นสังคมเอื้ออาทร พึ่งพาอาศัยกันได้ ระบบสุขภาพโดยการส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมบุคคล สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างให้สังคม ครอบครัวและชุมชนมีสุขภาวะและมีคุณภาพชีวิตที่ดีและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อประโยชน์สุขของการอยู่ร่วมกัน ในแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ว่าด้วย การสร้างเสริมสุขภาพให้เป็นไปเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั่วทั้งสังคม ลดการเจ็บป่วย ความพิการและการตายที่ไม่สมควร
สำหรับในพื้นที่ตำบลบ้านควน พบว่า ในช่วงที่ผ่านมากลุ่ม/ชมรม/ประชาคม ได้ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพในกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ มีการดำเนินกิจกรรมที่หลากหลายทั้งด้านสุขภาพโดยตรง การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้น ส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ของชมรมสุขภาพ ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างกระแสให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป
กลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมานได้จัดโครงการดังกล่าวขึ้น โดย มีกิจกรรมหน่วยแพทย์แผนไทย การนวดฝ่าเท้า/นวดเพื่อสุขภาพ การบริการน้ำดื่มสมุนไพรฟรี นอกจากนี้ยังมีร้านอาหารพื้นบ้านที่เน้นอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพมาจัดจำหน่าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้ความรู้และควบคู่กับการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลบ้านควน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนและให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชนตำบลบ้านควน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน
- เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย
- รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
- ตลาดนัดสุขภาพ
- เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพ และองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ
2.ประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกล่มต่างๆในชุมชน เชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายประจำหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนให้ความสนใจในการสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น
|
0 | 0 |
2. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน ได้แต่งตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ
|
0 | 0 |
3. คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำคณะทำงานร่วมกันคัดกรองค้นหากลุ่มเป้าหมาย โดยนัดประชุมตัวแทนแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 35 คน
|
0 | 0 |
4. ตลาดนัดสุขภาพ |
||
วันที่ 6 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการของแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้จากการเรียนรู้ฐานต่างๆ
|
0 | 0 |
5. เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน |
||
วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านเครื่องมือต่างๆ เช่น การสัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมในวิถีประจำวันและกิจกรรมทางสัมคมรวมถึงการสะท้อนข้อมูลทั้งหมดร่วมกันในกลุ่ม องค์กรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ถึงวาระการคืนข้อมูลให้กับชุมชน ในรูปแบบการจัดเวทีพูดคุยเสาวนาร่วมกันจากตัวแทนใรองค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการจัดกิจกรรมตามโครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนแต่งตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบโครงการ มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน
กิจกรรมคัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมายโดยคณะทำงานร่วมกันคัดกรองค้นหากลุ่มเป้าหมาย โดยนัดประชุมตัวแทนแต่ละกลุ่ม องค์กรในหมู่บ้านทุ่งวิมาน ได้แก่ กลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มแกนนำจัดการขยะมูลฝอย โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ศพด.บ้านทุ่งวิมาน กลุ่มอนุรักษ์วัฒนธธรรมพื้นบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มละ 5 คน เข้าร่วมพูดคุย หารือ ร่วมกัน วางแผน รูปแบบวิธีการจัดกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 35 คน กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยวิธีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รถแห่ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมและรณรงค์การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง ไตรมาสละ 1 ครั้ง พูดคุยเสียงตามสายประจำหมู่บ้านทุกๆเย็นวันศุกร์ ประชาสัมพันธ์ตามตลาดนัดในหมู่บ้าน ในช่วงเทศกาลต่างๆ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ
กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ จัดขึ้น ในวันที่ 6 กันยายน 2566 ณ โคกหนองนาโมเดล หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเยาวชนคนตนแบบบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านทุ่งวิมาน กลุ่มแกนนำจัดการขยะมูลฝอย โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ศพด.บ้านทุ่งวิมาน กศน.ตำบลบ้านควน ซึ่งมีฐานต่างๆ ฐานการออกกำลังกาย ฐานน้ำดื่มสมุนไพร ฐานการนวดแพทย์แผนไทย ฐานผักปลอดสารพิษ ฐานอาหารพื้นบ้าน ฐานคัดแยกขยะรีไซเคิล ฐานตรวจสุขภาพเบื้องต้น ฐานป้องกันควบคุมโรค มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน โดยมีบู๊ธต่างๆ ดังนี้
-จัดบู๊ธให้ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและบริการสร้างสุขภาพ
-จัดบู๊ธจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร ผักผลไม้ปลอดสารพิษ
-จัดบู๊ธให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย
-การจัดบู๊ธบริการสร้างเสริมสุขภาพ มีจัดกิจกรรมการดำเนินการร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบล บ้านควนและองค์กรในชุมชน ในอันที่จะสร้างเสริมสุขภาพ ให้กับประชาชน ได้แก่ การจัดนิทรรศการในประเด็นการให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย,อาหารปลอดภัย ,การกำจัดขยะการพัฒนาชุมชน การรณรงค์ลดโลกร้อน ,โทษและพิษภัยของบุหรี่ ยาเสพติดอื่นๆ,การให้บริการตรวจสุขภาพโดยทีมสุขภาพ เช่น การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดส่วนสูง การประเมินค่าดัชนีมวลกาย ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด การออกกกำลังกายโดยสาธิตการเต้นแอโรบิค เล่นฮูลาวูป การบริการนวดการแพทย์แผนไทย ได้แก่การนวด อบ ประคบ และ บริการน้ำ สมุนไพรฟรี
จากการผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ในวันที่ 6 กันยายน 2566 ณ โคกหนองนาโมเดล หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพออยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.60 แยกเป็นรายกิจกรรม ดังนี้
1.เนื้อหาโครงการตรงตามวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย 4.38
2.รูปแบบและวิธีจัดโครงการมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ย 4.23
3.ระยะเวลาในการจัดโครงการ มีค่าเฉลี่ย 3.93
4.ท่านสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีค่าเฉลี่ย 4.33
5.ภาพรวมทั้งหมดของกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 4.23
ผลจากการจัดกิจกรรมในครั้งทำให้ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพ และองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพและประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนตำบลบ้านควนมีการดูแลสุขภาพตนเอง |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ร้อยละ 80 |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้เกิดกระแสของการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในตำบลบ้านควน (2) เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) คัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย (3) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ (4) ตลาดนัดสุขภาพ (5) เวทีคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......