โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุดสือนี แอสะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2490-02-15 เลขที่ข้อตกลง 032/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้สถาบันครอบครัวไทยอ่อนแอลงมาก สมาชิกในครอบครัวมีความสุขน้อยลง ผู้สูงอายุเปลี่ยวเหงา ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า เด็กและเยาวชนก็ขาดความอบอุ่น ถูกชักจูงไปในทิศทางที่ไม่เหมาะสม กลายเป็นสมาชิกของสังคมที่ขาดคุณภาพ ซึ่งถ้าหากไม่ได้รับการเอาใจใส่แก้ไขแล้ว อนาคตของชาติก็เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง สังคมจะดีได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับคุณภาพของคนในสังคมนั้นๆ คุณภาพของคนจะดีหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพครอบครัวซึ่งเป็นฐาน
มีครอบครัวจำนวนมากที่มีทรัพย์สินเงินทอง มีฐานะ สุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่บรรยากาศครอบครัวไม่ดี สมาชิกในครอบครัวไม่สนใจกัน ไม่มีเวลาให้กัน ไม่เข้าใจกัน ใช้อารมณ์ ใช้ความรุนแรงต่อกัน ก็ไม่สามารถที่จะเป็นครอบครัวที่มีความสุขได้ ขณะที่ครอบครัวที่ไม่ได้ร่ำรวย มีโรคมีความเจ็บป่วยอยู่บ้าง แต่คนในครอบครัวเข้าใจกัน เอาใจใส่กัน มีเวลาให้กัน สนใจความรู้สึกของกันและกัน ย่อมเป็นครอบครัวที่มีความสุขมากกว่า คนเราทุกคนเป็นสภาพแวดล้อมของกันและกัน ถ้าเราปรารถนาจะมีความสุข ก็เป็นหน้าที่ของคนทุกคนในครอบครัวจะเห็นได้ว่าปัจจัยที่เป็นตัวตัดสินว่า คนในครอบครัวจะมีความสุขหรือไม่ ไม่ใช่เรื่องของทรัพย์สินเงินทอง แต่เป็นเรื่องของความรู้สึก ความอบอุ่นใจ เป็นเรื่องของสุขภาพจิตมากกว่าสุขภาพกาย หรือเรื่องของวัตถุ ดังนั้น ถ้าเราต้องการที่จะมีความสุข มีครอบครัวที่อบอุ่น ก็เป็นสิ่งที่ทุกคนในครอบครัวต้องร่วมกันสร้าง และกระทำไปในทิศทางเดียวกัน ตั้งแต่การมีเป้าหมายร่วมกัน การมีเวลาให้กัน มีกิจกรรมร่วมกันและมีการสื่อสารที่มีคุณภาพระหว่างกัน
ดังนั้นเครือข่ายสุขภาพ/กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านยาบี เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุขหมู่ที่ 1 บ้านยาบี ปี 2566 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวที่มีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- สามารถจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้
- สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆ มิติ ทั้งสุขภาพกายเเละสุขภาพจิตใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินอบรมให้ความรู้เเก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 1 บ้านยาบี ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
07.30 น. – 08.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
08.30 น. – 09.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
09.30 น. – 10.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การสร้างทัศนคติที่ดีต่อบุคคลในครอบครัว
10.30 น. – 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
10.45 น. – 12.00 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง สาเหตุการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจในครอบครัว
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 14.00 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวที่ก่อให้เกิดปัญหาความไม่เข้าใจกัน นำไปสู่เด็กและเยาวชนขาดความอบอุ่น
14.00 น. – 14.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง ปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้า
14.00 น. – 14.30 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.30 น. – 15.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายการครองเรือนในรูปแบบอิสลามกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว
16.00 น. – 16.30 น. อภิปราย - แลกเปลี่ยนปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว
16.30 น. สรุปโครงการ - ปิดการฝึกอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) : จำนวนกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
ผลลัตธ์ (Outcome) : มีความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
0
0
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ)
วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินประชาสัมพันธ์ ให้แก่ เพื่อนบ้านใกล้เคียง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ จำนวน 50 คน
ผลลัตธ์ (Outcome) : สามารถประชาสัมพันธ์ติดสติกเกอร์ จำนวน 50 จุด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- สามารถจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้
- สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆ มิติ ทั้งสุขภาพกายเเละสุขภาพจิตใจ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
50.00
50.00
50.00
2
เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดภาวะซึมเศร้าสมาชิกในครอบครัว
50.00
45.00
45.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว (2) เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2490-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรุดสือนี แอสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุดสือนี แอสะ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2490-02-15 เลขที่ข้อตกลง 032/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้สถาบันครอบครัวไทยอ่อนแอลงมาก สมาชิกในครอบครัวมีความสุขน้อยลง ผู้สูงอายุเปลี่ยวเหงา ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า เด็กและเยาวชนก็ขาดความอบอุ่น ถูกชักจูงไปในทิศทางที่ไม่เหมาะสม กลายเป็นสมาชิกของสังคมที่ขาดคุณภาพ ซึ่งถ้าหากไม่ได้รับการเอาใจใส่แก้ไขแล้ว อนาคตของชาติก็เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง สังคมจะดีได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับคุณภาพของคนในสังคมนั้นๆ คุณภาพของคนจะดีหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพครอบครัวซึ่งเป็นฐาน มีครอบครัวจำนวนมากที่มีทรัพย์สินเงินทอง มีฐานะ สุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่บรรยากาศครอบครัวไม่ดี สมาชิกในครอบครัวไม่สนใจกัน ไม่มีเวลาให้กัน ไม่เข้าใจกัน ใช้อารมณ์ ใช้ความรุนแรงต่อกัน ก็ไม่สามารถที่จะเป็นครอบครัวที่มีความสุขได้ ขณะที่ครอบครัวที่ไม่ได้ร่ำรวย มีโรคมีความเจ็บป่วยอยู่บ้าง แต่คนในครอบครัวเข้าใจกัน เอาใจใส่กัน มีเวลาให้กัน สนใจความรู้สึกของกันและกัน ย่อมเป็นครอบครัวที่มีความสุขมากกว่า คนเราทุกคนเป็นสภาพแวดล้อมของกันและกัน ถ้าเราปรารถนาจะมีความสุข ก็เป็นหน้าที่ของคนทุกคนในครอบครัวจะเห็นได้ว่าปัจจัยที่เป็นตัวตัดสินว่า คนในครอบครัวจะมีความสุขหรือไม่ ไม่ใช่เรื่องของทรัพย์สินเงินทอง แต่เป็นเรื่องของความรู้สึก ความอบอุ่นใจ เป็นเรื่องของสุขภาพจิตมากกว่าสุขภาพกาย หรือเรื่องของวัตถุ ดังนั้น ถ้าเราต้องการที่จะมีความสุข มีครอบครัวที่อบอุ่น ก็เป็นสิ่งที่ทุกคนในครอบครัวต้องร่วมกันสร้าง และกระทำไปในทิศทางเดียวกัน ตั้งแต่การมีเป้าหมายร่วมกัน การมีเวลาให้กัน มีกิจกรรมร่วมกันและมีการสื่อสารที่มีคุณภาพระหว่างกัน ดังนั้นเครือข่ายสุขภาพ/กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านยาบี เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุขหมู่ที่ 1 บ้านยาบี ปี 2566 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวที่มีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- สามารถจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้
- สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆ มิติ ทั้งสุขภาพกายเเละสุขภาพจิตใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินอบรมให้ความรู้เเก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 1 บ้านยาบี ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส 07.30 น. – 08.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
08.30 น. – 09.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น
09.30 น. – 10.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การสร้างทัศนคติที่ดีต่อบุคคลในครอบครัว
10.30 น. – 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
10.45 น. – 12.00 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง สาเหตุการเกิดปัญหาความไม่เข้าใจในครอบครัว
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 14.00 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวที่ก่อให้เกิดปัญหาความไม่เข้าใจกัน นำไปสู่เด็กและเยาวชนขาดความอบอุ่น
14.00 น. – 14.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง ปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้า
14.00 น. – 14.30 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
14.30 น. – 15.30 น. วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายการครองเรือนในรูปแบบอิสลามกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) : จำนวนกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ) |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินประชาสัมพันธ์ ให้แก่ เพื่อนบ้านใกล้เคียง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ จำนวน 50 คน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว
- สามารถจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้
- สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆ มิติ ทั้งสุขภาพกายเเละสุขภาพจิตใจ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว |
50.00 | 50.00 | 50.00 |
|
2 | เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว ตัวชี้วัด : ลดการเกิดภาวะซึมเศร้าสมาชิกในครอบครัว |
50.00 | 45.00 | 45.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพจิตดีเเละการมีทัศนคติที่ดีให้เเก่สมาชิกภายในครอบครัว (2) เพื่อส่งเสริมเเละป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าให้แก่สมาชิกในครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพจิตดี สู่ครอบครัวอบอุ่น (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การสร้างครอบครัวมีสุข (5 สิ่งที่คนในครอบครัว ควรจะมีให้เเก่กันเสมอ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขภาพจิตดี ครอบครัวมีสุข หมู่ที่ 1 บ้านยาบี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2490-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรุดสือนี แอสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......