กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาซีลา แจกอม๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-04-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-04-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึ่งประสงค์ ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุข ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน รวมถึงเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ จากสถิติการป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มักพบผู้ป่วยมากที่สุดในอับดับต้นของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ปีงบประมาณ 2565 กลุ่มเป้าหมายการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2,861 คน คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานแล้ว 2,628 คน คิดเป็นร้อยละ91.8 ผลพบว่า เป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นในปีนี้ 37 คน และโรคเบาหวาน 14 คน ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นๆในชุมชนได้ เป็นตัวอย่างและปรับใช้การดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนการใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3อ 2ส เช่น ลดอาหารหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรารวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดกล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลท่าสาป ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ชาวท่าสาปใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขึ้น เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมที่ดี ส่งเสริมประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อเป็นการเสริมพลังกลุ่มเป้าหมาย ในการทบทวนตนเอง ค้นหาสาเหตุและแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
  3. เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพร่างกาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ /ประชุมระดมสมองกลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม เพื่อสาเหตุ / แนวทางแก้ไข
  3. กิจกรรมออกำลังกายทุกสัปดาห์ๆละ 3 ครั้ง รวม 60 ครั้ง
  4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ได้บุคคลต้นแบบในพื้นที่ตำบลท่าสาป ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเป้าหมายได้การทบทวนตนเอง รู้สาเหตุและมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ร้อยละ 100
  3. กลุ่มเป้าหมายสมารถถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเป็นการเสริมพลังกลุ่มเป้าหมาย ในการทบทวนตนเอง ค้นหาสาเหตุและแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อเป็นการเสริมพลังกลุ่มเป้าหมาย ในการทบทวนตนเอง ค้นหาสาเหตุและแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง (3) เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพร่างกาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง (2) จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ /ประชุมระดมสมองกลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม เพื่อสาเหตุ / แนวทางแก้ไข (3) กิจกรรมออกำลังกายทุกสัปดาห์ๆละ 3 ครั้ง รวม 60 ครั้ง (4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวท่าสาปร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-04-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาซีลา แจกอม๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด