กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ 61-L2480-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลมะรือโบออก
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 18,220.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมพรจินดาราม
พี่เลี้ยงโครงการ นางปารีดะ แก้วกรด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.249,101.875place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี ซึ่งในปัจจุบันยังมีการใช้พืชสมุนไพรสำหรับอุปโภคและ บริโภคเพื่อสุขภาพ แม้นว่าการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในการรักษาโรคทำให้การใช้พืชสมุนไพร ลดลง อาจสืบเนื่องมาจากปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้การใช้สมุนไพรไทยลดน้อยลงซึ่งจะเป็นที่น่าเสียดายเป็น อย่างยิ่งถ้าพืชสมุนไพรไม่ถูกนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งในปัจจุบันยังคงมีการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาโรค อยู่ เพื่อเป็นการอนุรักษ์พืชสมุนไพรไม่ให้หายไป พืชสมุนไพรยังคงเป็นกลุ่มพืชที่มีคนให้ความสนใจเป็นอย่าง มากและยังมีการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรใช้ในงานต่างๆ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้พืชสมุนไพรและใช้ประโยชน์ สูงสุดให้สูงสุดพืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติ สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น
ดังนั้นความสำคัญและประโยชน์ของสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นจึงมีมากมาย การทำลูกประคบสมุนไพร ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นภูมิปัญญาไทยที่มีมาแต่โบราณ เป็นการนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆ มาใช้ ประโยชน์ทางการรักษาโรค ลูกประคบโดยทั่วไปมีพืช สมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลักใช้วางประคบตามส่วนต่างๆของร่างกาย ช่วยคลายกล้ามเนื้อ ลดการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกายเช่น หลัง ต้นคอ แขน ขา เป็นต้นนอกจากนี้กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยในสมุนไพรรวมทั้งกลิ่นการบูรและพิมเสนที่เป็นสวนประกอบในลูกประคบ ช่วยทำให้รู้สึก สดชื่น ผ่อนคลายความเครียด แก้ปัญหาผิวเปลือกส้ม สลายไขมันสะสมในร่างกาย ลดสัดส่วน ช่วยให้ผิวพรรณและรูปร่างสมส่วนสวยงาม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค

 

40.00
2 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร

 

40.00
3 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี

 

0.00
4 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้

 

40.00
5 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน

 

40.00
6 สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา

 

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ส.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น/กิจกรรมการทำลูกสมุนไพร 40 18,220.00 18,220.00
รวม 40 18,220.00 1 18,220.00
  1. ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
    2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
    3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 4.ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 7.ติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานโครงการ
  2. สรุปผลโครงการ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค 2.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร 3.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี 4.เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ 5.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน 6.ลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2560 14:14 น.