กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566 ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนรารัตน์ สือเเม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-01 เลขที่ข้อตกลง 001/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ และได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายในการดำเนินงานโดยมีการควบคุมโรคไข้เลือดออก รณรงค์ให้กำจัดยุงลายทุกๆ 7 วัน และมีการป้องกันและควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืนตามมาตรการ 5 ป 1 ข (ปิดฝาชนะที่มีน้ำขัง เปลี่ยนภาชนะรองรับน้ำทุกสัปดาห์ ปล่อยปลากินลูกน้ำ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติเป็นประจำ ขัดล้างภาชนะรองรับน้ำทุกสัปดาห์ ) โครงการไข้เลือดออกได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี แต่อัตราป่วยและอัตราตายก็ยังไม่ลดลงเท่าที่ควร จากข้อมูลผลการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกของตำบลกะลุวอ ในปี พ.ศ. 2561-2565 พบว่ามีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นซึ่งแนวโน้มจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี แสดงให้เห็นว่าการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมายังไม่สามารถควบคุมและหยุดยั้งการระบาดของโรคได้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคุมอย่างต่อเนื่องทุกปี
จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ จึงมีแนวคิดที่จะแก้ไขปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและทุกหมู่บ้านในเขตตำบลกะลุวอ แนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างได้ผล คือการกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคไข้เลือดออก โดยการให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก รวมทั้งรณรงค์ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุก 7 วัน และร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคตามมาตรการ 5 ป 1 ข ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกและเพื่อกำจัดยุงซึ่งเป็นเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดยุงซึ่งเป็นเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการพ่นหมอกควันในชุมชน ในโรงเรียนและสถานที่ราชการ
  2. กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 91
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 2.ประชาชนได้รับความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง 3.สามารถกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออกได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • พ่นหมอกควัน รัศมี 100 เมตร เมื่อได้รับการแจ้งเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับการแจ้งเกิดการระบาดในตำบลกะลุวอ จำนวน 29 ราย และได้ทำการพ่นหมอกควันทั้ง 29 ราย

 

0 0

2. กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการพ่นหมอกควันในชุมชน ในโรงเรียนและสถานที่ราชการ

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • พ่นหมอกควันในชุมชน ในโรงเรียนและสถานที่ราชการ รวม 27 แห่ง
  • ทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ดำเนินพ่นหมอกควัน ครบทั้ง 27 แห่ง

 

0 0

3. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้ดำเนินการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
91.00 85.00

 

2 เพื่อกำจัดยุงซึ่งเป็นเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : กำจัดยุงซึ่งเป็นเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก
91.00 91.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 91
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 91
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดยุงซึ่งเป็นเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการพ่นหมอกควันในชุมชน ในโรงเรียนและสถานที่ราชการ (2) กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลกะลุวอ ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนรารัตน์ สือเเม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด