กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบริโภคปลอดภัย ด้วยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
รหัสโครงการ 61-L2480-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางตัซนีมต่วนมหญีย์
พี่เลี้ยงโครงการ นางปารีด๊ะแก้วกรด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.249,101.875place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 19 มี.ค. 2561 19 มี.ค. 2561 11,300.00
รวมงบประมาณ 11,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่ เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษ ภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภค อาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่
ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารมักจะมีสารปนเปื้อน อาหารที่ไม่มีคุณภาพจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไป แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้า จะเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภค มีการจำหน่ายอาหารที่ไม่มีคุณภาพและใช้สารปนเปื้อนกับอาหารในการหวังผลกำไร โดยไม่คำนึงถึงโทษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และความรู้ไม่เท่าทันของผู้บริโภค ทำให้ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย ซึ่งจากการทำโครงการปีที่ผ่านมามีผู้ประกอบร้านชำที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้บริโภคปลอดภัย ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ทั้งหมด 40 ร้าน มีร้านชำที่ให้ความร่วมมือในการลงตรวจร้าน 30 ร้านไม่ให้ความร่วมมือ10 ร้านและร้านชำที่จำหน่ายอาหารในท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีทั้งหมด 34 ร้าน (ร้อยละ 85) และได้ทดสอบความรู้ผู้ประกอบร้านชำในการอบรมในครั้งนี้โดยผู้ประกอบร้านชำไม่มีความรู้ร้อยละ 37.5 และมีความรู้ร้อยละ62.5 ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารมีคุณภาพและปลอดภัยจากอันตรายที่อยู่ในอาหารที่มีการจำหน่ายในท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็งและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกและองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก จึงได้ดำเนินการโครงการผู้บริโภคปลอดภัย ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในการเลือกซื้ออาหาร และควบคุมดูแลความปลอดภัยในอาหาร และยกระดับ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพดี ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 .เพื่อพัฒนาร้านชำให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำคุณภาพ

ร้อยละ 80 ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำคุณภาพ

0.00
2 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้เรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ร้อยละ 80 ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้เรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ

0.00
3 เพื่อให้มีการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับตำบล

ร้อยละ 100 ร้าชำมีการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับตำบล

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,300.00 0 0.00
2 ต.ค. 60 - 28 ก.ย. 61 อบรมให้ความรู้โครงการชุมชนบริโภคปลอดภัย ด้วยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 0 11,300.00 -

1.ประชุมวางแผนแนวทางการดำเนินงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก 2.ประสานงานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเจาะไอร้อง เพื่อเชิญวิทยากรต่างอำเภอและร่วมพัฒนาเครือข่ายชุมชนบริโภคปลอดภัย ด้วยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วม 3.กำหนดวันและเวลาสถานที่จัดอบรมผู้ประกอบการร้านชำ 4.แต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับตำบล
5.จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม 6.จัดอบรมอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้โฟมที่ผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้ทราบถึงความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและซักซ้อมแนวทางปฏิบัติดำเนินการตรวจประเมิน เพื่อเป็นร้านชำที่มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง 7.ประชุมสรุปผลการประเมิน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2560 14:45 น.