กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1. นายสุชาติพรหมเสน 2.นายสมบัติแก้วพิบูลย์ 3. นายหรูนฤทธิ์โต 4. นางวาสนาหมานระเก็น 5. นางอาภรณ์เรืองดำ

ชื่อโครงการ โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3341-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3341-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันปัญหาการจารจรด้านการใช้รถใช้ถนน นับวันยิ่งสะสมมากขึ้น จากการเพิ่มของจำนวนประชากร และจำนวนยานพาหนะบนท้องถนน ประกอบกับการขาดความรู้ความเข้าใจ และขาดระเบียบวินัยในการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาและเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ทุกเวลา ดังนั้นควรให้มีการจัดอบรมด้านวินัยจราจร เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนได้พัฒนาตนเองในการสัญจร การใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย เคารพกฎจราจร ลดปัญหาการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน โดยส่วนใหญ่ยังไม่เคารพกฎจราจร ขับรถย้อนศร ไม่สวมใส่หมวกกันน๊อค ยังขาดความรู้ความเข้าใจในสัญลักษณ์จราจร การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ทำให้เกิดอุบัติเหตุบ่อย สูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ช่วงเวลาที่ผ่านมาในระยะที่ไม่นานเท่าใดนัก เมื่อพิจารณาให้ถี่ถ้วนจะพบว่าอัตราการป่วยตายของคนไทยมีสาเหตุสำคัญเกิดจากโรคภัยที่เป็นผลมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งสิ้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจเรียกว่าพฤติกรรมเสี่ยงก็ว่าได้ พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้ในหลายสถานการณ์ เช่น การอุปโภคบริโภค การพบปะสังสรรค์ (Interaction) ในกลุ่มมนุษย์ การขับขี่ยานพาหนะที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้นการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ไม่ปลอดภัยจนส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นนั้นนับเป็นความสูญเสียอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และเทศกาลปีใหม่ มีการเกิดอุบัติเหตุในแต่ละปีมีจำนวนมาก อุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ (2) ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ (3) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และ (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการอุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากปัจจัยทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายที่ตีค่าเป็นตัวเงินหรือความเสียหายที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้ จากความสูญเสียดังกล่าว นับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรงที่จะส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม ซึ่งรัฐบาลในยุคที่ผ่านมาจวบจนถึงรัฐบาลในยุคปัจจุบันได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะทำการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนมิให้เกิดขึ้นหรือให้เกิดขึ้นได้ในจำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังที่ปรากฏตั้งแต่ปีพ.ศ.2547รัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด และ อำเภอ โดยเน้นการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสำคัญเป็นหลักด้วยมาตรการต่างๆ ที่ภาครัฐพยายามคิดรูปแบบและนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม แต่เมื่อพิจารณาถึงจำนวนสถิติที่ผ่านมากลับพบว่าจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนก็ยัง เกิดขึ้นให้เห็น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญ ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถใช้ถนนมากกว่าปกติ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาแล้วการดำเนินการโดยภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ ในยุคปัจจุบันควรที่จะคิดรูปแบบอื่น ๆ โดยเฉพาะการนำภาคประชาชนในท้องถิ่นที่มีความพร้อมหรือมีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุอีกทางหนึ่ง ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชนขึ้น เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่ โดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม มีการส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัยตลอดจนเกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
  2. เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันอุบัติเหตุใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 2.อัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่ลดลง 3.เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
ตัวชี้วัด : การอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนแก่ประชาชน โดยผ่านองค์กรเครือข่ายที่จัดตั้งอยู่ในชุมชน
0.00

 

2 เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : 2.การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ เผยแพร่
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : จัดกิจกรรมรณรงค์อุบัติเหตุของมวลชนในพื้นที่เพื่อการประชาสัมพันธ์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน (2) เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขการเกิดอุบัติเหตุทางถนน (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในชุมชน รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3341-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นายสุชาติพรหมเสน 2.นายสมบัติแก้วพิบูลย์ 3. นายหรูนฤทธิ์โต 4. นางวาสนาหมานระเก็น 5. นางอาภรณ์เรืองดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด