กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี ”
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนอรยาตี ปะดุกา




ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8406-03-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L8406-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤศจิกายน 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,320.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา 67 (5) จัดการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและการฝึกอบรมให้แก่ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา   ตามที่คณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กพต.) มีมติในคราวประชุม กพต. ครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 15กรกฎาคม 2565 อนุมัติในหลักการโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาวะโภชนาการต่ำของเด็กเล็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2568 (รวม 5 ปี) มีพื้นที่เป้าหมาย 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 46,819 คน รวมกรอบวงเงินไม่เกิน 1,112,549,736.- บาท โดยมอบให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ และมอบหมายให้ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็นหน่วยงานบรูณาการในภาครวม เนื่องเด็กปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตช่วงอายุแรกเกิดถึง 6 ปี “โอกาสทอง” ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่ให้ผลตอบแทนระยะยาวที่คุมค่ามากที่สุด การส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายและพัฒนาการด้านต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพ ส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตดีมีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาดี มีความสามารถ มีสมาธิในการเรียนรู้ สร้างระบบต้านทานโรคและลดความเสรี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ปัจจัยที่ส่งเสริมการมีสุขภาพดีของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานของรัฐต้องร่วมกันส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย มีความสมบูรณ์และเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ หากเด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ดีมีประโยชน์ก็จะส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา เป็นสิ่งที่ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและชุมชนต้องร่วมใจในการพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี จากสถาณการณ์ปัญหาด้านการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (2 – 4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบูเก็ตยามูพบว่ามีเด็กอายุ 2 – 4 ปี จำนวน 32 คน มีภาวะโภชนาการที่ดี สูง ดี สมส่วน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 53.12 มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 46.87 และจากการสำรวจการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน มีนักเรียนบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาจากบ้าน ซึ่งอาหารมื้อเช้ามีความสำคัญ ต่อการส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการของนักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบูเก็ตยามู จึงได้จัดทำโครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนร่วมของหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานภายนอกที่สนับสนุนงบประมาณในการจัดหาอาหารเช้าที่ดี เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียนทุกวันทำการ จะทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และมีคุณลักษณะดังกล่าวมาข้างต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน
  2. 2เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อาหารเช้านักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน 2 นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อาหารเช้านักเรียน

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารเช้านักเรียน จำนวน 29 คน คนละ 10 บาท ต่อวัน จำนวน 226 วัน เป็นเงิน 72,320.-บาท ระยะเวลาดำเนินงาน 28 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน 2 ร้อยละ 53.12 นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน
32.00

 

2 2เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
32.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 32
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเข้าเรียน (2) 2เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อาหารเช้านักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปฐมวัยสมองใส เติบโต สมวัยสุขภาพอนามัยดี จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8406-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนอรยาตี ปะดุกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด