กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 66-L8287-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเทพา
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤศจิกายน 2565 - 30 พฤศจิกายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 14,265.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายหมัดอุเส็น สามารถ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 พ.ย. 2565 24 พ.ย. 2565 14,265.00
2 25 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565 0.00
รวมงบประมาณ 14,265.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 133 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และ ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิด ของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคจากสัตว์แมลง โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนเกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์จากโรคที่เกิดจาขยะมูลฝอย จากข้อมูล 3 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอย ปี 2559 พบผู้ป่วยจำนวน 95 ราย อัตราป่วย 902.30 ต่อประชากรแสนคน ปี 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 21 ราย อัตราป่วย 177.35 ต่อประชากรแสนคน ปี 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 59.12 ต่อประชากรแสนคน
ปี 2562 พบผู้ป่วยจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 41.66 ต่อประชากรแสนคน ปี 2563 พบผู้ป่วยจำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 33.33 ต่อประชากรแสนคน และปี 2564 พบผู้ป่วยจำนวน 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 66.66 ต่อประชากรแสนคน และคาดการณ์ว่าปี 25666 นี้จะพบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหลายพื้นที่ของอำเภอเทพา ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย

มีระบบการจัดการขยะมูลฝอย และประชาชนไม่เป็นโรคภัยจากขยะมูลฝอย

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 65
1 อบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะ และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม(24 พ.ย. 2565-24 พ.ย. 2565) 0.00  
2 ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะ(25 พ.ย. 2565-30 พ.ย. 2565) 0.00  
รวม 0.00
1 อบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะ และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคจากขยะมูลฝอยในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
  2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2565 10:36 น.