โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566
ชื่อโครงการ | โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566 |
รหัสโครงการ | 65-L3017-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด |
วันที่อนุมัติ | 3 พฤศจิกายน 2565 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 พฤษภาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กรกฎาคม 2566 |
งบประมาณ | 31,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางฮานาน มะยีแต |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.817912,101.282122place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข และกรมควบคุมโรค ในด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention & Protection Excellence) การขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ 20 ปี โดยเฉพาะประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีและแผนแม่บทย่อย 13.5 การพัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและร่วมดำเนินการในแผนแม่บทย่อยในประเด็นการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาพซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพด้านโรคและภัยสุขภาพรวมถึงโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์สามารถดูแลสุขภาพและป้องกันและลดโรคภัยสุขภาพที่ป้องกันได้
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติตำบลปูยุดจึงได้จัดทำแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยได้นำแนวทางและคู่มือการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคสำหรับใช้ดำเนินการในพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้นเพื่อให้หน่วยงานเครือข่ายในระดับพื้นที่ใช้เป็นแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพให้เกิดผลสำเร็จเป็นรูปธรรมโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนลดการปวดและลดการเสียชีวิตจากโรคและภัยสุขภาพที่ป้องกันได้ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยสุขภาพและสามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างปกติการขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมาย
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – ๑๙ ในช่วง ปี ๒๕๖๔ ถึงปัจจุบัน พบว่าประชาชนและทุกภาคส่วนได้รับผลกระทบอย่างมหาศาล ตั้งแต่ ด้านการประกอบอาชีพ ด้านรายได้ ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ตลอดจนเกิดการสูญเสีย และเดือดร้อนต่อการดำเนินชีวิตอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ กลุ่มวัยเรียนขาดการศึกษา อย่างมีคุณภาพ กลุ่มวัยทำงานขาดรายได้ กลุ่มวัยสูงอายุ วัยพึ่งพิง เกิดการเพื่อการขับเคลื่อนงาน และการเฝ้าระวัง อันตรายจากการบริโภคของชุมชน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค อาหารปลอดภัย ปี 66 ขึ้นมาเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร และการใช้ยาที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาแกนนำภาคีเครือข่ายและโรงเรียน สามารถจัดทำแผนเผชิญเหตุการณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ หน่วยงาน และโรงเรียนมีและสามารถปฏิบัติตามแผนเฝ้าระวังและเผชิญเหตุ ร้อยละ 80 |
||
2 | เพื่อเสริมสร้างความรู้ ให้ผู้ประชาชนแกนนำเครือข่ายต่างๆนักเรียนและผู้ปกครองด้านการป้องกันภัยสุขภาพจากโรคติดต่อได้ ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ด้านการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อร้อยละ 80 |
||
3 | เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วมในการพัฒนาและยกระดับระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของเครือข่ายชุมชนระดับ หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการอบรมและร่วมพัฒนาและแก้ปัญหาการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ |
||
4 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรค และการสูญเสียของประชาชนในพื้นที่ อัตราการเกิดโรคโควิด 19 และโรคติดต่ออื่นๆมีแนวโน้มลดลง |
- แกนนำภาคีเครือข่ายและโรงเรียนสามารถจัดทำแผนเผชิญเหตุการณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้
- ประชาชน แกนนำเครือข่ายต่างๆนักเรียน และผู้ปกครองมีคคามรู้สามารถป้องกันภัยสุขภาพจากโรคติดต่อได้
- เครือข่ายชุมชนระดับพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและยกระดับระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
- ลดอัตราการเกิดโรคและการสูญเสียของประชาชนในพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2565 14:57 น.