โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุทธอร จีนนุกูล (รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทุ่งใหญ่)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8405-1-2 เลขที่ข้อตกลง 02/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8405-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 102 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ โดยหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการเริ่มต้นจากวัยเด็ก ซึ่งในปัจจุบันพบว่าเด็กมีพัฒนาการล่าช้าเฉลี่ย 240,000 คนต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น การคัดกรอง ส่งเสริม การค้นหาการช่วยเหลือเด็กที่มีความเสี่ยงและการดูแลส่งเสริม ให้มีพัฒนาการตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสมตั้งแต่ระยะแรก อย่างเป็นระบบจึงมีความสำคัญที่จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป
งานคลินิกพัฒนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้พัฒนาการเฝ้าระวังเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า โดยร่วมกับแกนนำสุขภาพในตำบลทุ่งใหญ่ ในการเฝ้าระวังเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า โดยพบว่าเด็ก 0 - 5 ปี ในตำบลทุ่งใหญ่ ส่วนใหญ่ถูกเลี้ยงดูโดยปู่ - ย่า
ตา - ยาย เนื่องด้วยพ่อแม่ ต้องออกไปทำงาน และในช่วงเด็ก 2 ปี ครึ่ง เด็กเหล่านี้ถูกส่งเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พฤติกรรมที่พบจากการสอบถามเด็กที่มีปัญหาความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า พบว่า การอยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ ทีวี เป็นปัจจัยที่นำมาซึ่งพัฒนาการที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กล่าช้าดังกล่าว แต่ด้วยการพัฒนาระบบเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าในเด็ก 0- 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ โดยการให้ความรู้ต่อแกนนำสุขภาพ เพื่อเป็นกระบอกเสียง และเฝ้าระวัง สังเกต ให้กับเด็กในเขตรับผิดชอบ ทำให้สามารถค้นพบเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็น ความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าด้านการเคลื่อนไหว(GM) การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา(FM)การเข้าใจภาษา(RL) การใช้ภาษา(EL) การช่วยเหลือตัวเองและสังคม(PS)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปีตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัย ร่วมทั้งเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อพัฒนาการที่ล่าช้า ในเด็ก 0 – 5 ปี อีกทั้งยังขยายความรู้ความเข้าใจให้กับครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลทุ่งใหญ่ เพื่อที่สามารถสังเกตและเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง ต่อพัฒนาการที่ล่าช้าในเด็ก 0 – 5 ปี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่
- เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 53 คน รวมทั้งสิ้น 106 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
106
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1. เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย และได้รับการประเมินพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการตามเกณฑ์อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพ
8.2. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการค้นพบมากขึ้น และได้รับการส่งต่อหรือได้รับการกระตุ้นพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่
ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความเข้าใจและตระหนักการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
10.00
60.00
2
เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่
ตัวชี้วัด : เด็ก 0 - 5 ปีในเขตตำบลทุ่งใหญ่ที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้รับการแนะนำเพื่อส่งเข้าคลินิกพัฒนาการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ และเด็กที่มีการสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม และส่งต่อ อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100
10.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
106
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
106
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่ (2) เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 53 คน รวมทั้งสิ้น 106 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8405-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุทธอร จีนนุกูล (รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทุ่งใหญ่) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุทธอร จีนนุกูล (รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทุ่งใหญ่)
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8405-1-2 เลขที่ข้อตกลง 02/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8405-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 102 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ โดยหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการเริ่มต้นจากวัยเด็ก ซึ่งในปัจจุบันพบว่าเด็กมีพัฒนาการล่าช้าเฉลี่ย 240,000 คนต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น การคัดกรอง ส่งเสริม การค้นหาการช่วยเหลือเด็กที่มีความเสี่ยงและการดูแลส่งเสริม ให้มีพัฒนาการตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสมตั้งแต่ระยะแรก อย่างเป็นระบบจึงมีความสำคัญที่จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป
งานคลินิกพัฒนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้พัฒนาการเฝ้าระวังเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า โดยร่วมกับแกนนำสุขภาพในตำบลทุ่งใหญ่ ในการเฝ้าระวังเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า โดยพบว่าเด็ก 0 - 5 ปี ในตำบลทุ่งใหญ่ ส่วนใหญ่ถูกเลี้ยงดูโดยปู่ - ย่า
ตา - ยาย เนื่องด้วยพ่อแม่ ต้องออกไปทำงาน และในช่วงเด็ก 2 ปี ครึ่ง เด็กเหล่านี้ถูกส่งเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พฤติกรรมที่พบจากการสอบถามเด็กที่มีปัญหาความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า พบว่า การอยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ ทีวี เป็นปัจจัยที่นำมาซึ่งพัฒนาการที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กล่าช้าดังกล่าว แต่ด้วยการพัฒนาระบบเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าในเด็ก 0- 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ โดยการให้ความรู้ต่อแกนนำสุขภาพ เพื่อเป็นกระบอกเสียง และเฝ้าระวัง สังเกต ให้กับเด็กในเขตรับผิดชอบ ทำให้สามารถค้นพบเด็กที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็น ความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้าด้านการเคลื่อนไหว(GM) การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา(FM)การเข้าใจภาษา(RL) การใช้ภาษา(EL) การช่วยเหลือตัวเองและสังคม(PS)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปีตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัย ร่วมทั้งเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อพัฒนาการที่ล่าช้า ในเด็ก 0 – 5 ปี อีกทั้งยังขยายความรู้ความเข้าใจให้กับครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลทุ่งใหญ่ เพื่อที่สามารถสังเกตและเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง ต่อพัฒนาการที่ล่าช้าในเด็ก 0 – 5 ปี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่
- เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 53 คน รวมทั้งสิ้น 106 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 106 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1. เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย และได้รับการประเมินพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการตามเกณฑ์อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพ
8.2. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการค้นพบมากขึ้น และได้รับการส่งต่อหรือได้รับการกระตุ้นพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่ ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความเข้าใจและตระหนักการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 |
10.00 | 60.00 |
|
|
2 | เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่ ตัวชี้วัด : เด็ก 0 - 5 ปีในเขตตำบลทุ่งใหญ่ที่มีความเสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้รับการแนะนำเพื่อส่งเข้าคลินิกพัฒนาการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ และเด็กที่มีการสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม และส่งต่อ อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100 |
10.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 106 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 106 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ให้แก่แกนนำสุขภาพในเขตตำบลทุ่งใหญ่ (2) เพื่อการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี เขตตำบลทุ่งใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 53 คน รวมทั้งสิ้น 106 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาสู่แกนนำด้านการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี ตำบล ทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8405-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุทธอร จีนนุกูล (รักษาการในตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ทุ่งใหญ่) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......