กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หนูน้อยนักสำรวจลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 2566-L5164-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกระแสสินธุ์
วันที่อนุมัติ 6 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 3,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแพทย์ภควรรษ สังค์ทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่นำเชื้อโดยยุงลาย ที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญมาก เพราะทำให้มีผู้ป่วยในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก โดยส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี และอาจมีความรุนแรงจนถึงอาการภาวะช็อกเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เสียชีวิตได้
ข้อมูลรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของอำเภอกระแสสินธุ์ ย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) พบรายงานผู้ป่วย 20, 40, 2, 1 และ 3 ราย ตามลำดับ (ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต) โดยคิดเป็นอัตราป่วย 131.32, 262.62, 13.13, 6.57และ19.70ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ (งานระบาดวิทยา รพ.กระแสสินธุ์ 2565) สำหรับรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของตำบลเชิงแส ย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) พบรายงานผู้ป่วย 7, 15, 0, 0 และ 0 ราย ตามลำดับ (ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต)โดยคิดเป็นอัตราป่วย 356.23, 763.36, 0, 0 และ 0 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับอาชีพที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวนผู้ป่วย 17 ราย ดังนั้นจึงต้องดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในโรงเรียน ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนัก รู้ถึงภัยอันตรายจากโรคไข้เลือดออก ซึ่งส่งผลร้ายต่อสุขภาพและชีวิต ที่สำคัญคือให้นักเรียนได้สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและต่อเนื่องต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก มาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการเฝ้าระวังโรค

ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก มาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการเฝ้าระวังโรค ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา
  1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกเดือน
  2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI=0
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,500.00 0 0.00
1 พ.ย. 65 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมประเมินโรงเรียน สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 0 0.00 -
1 พ.ย. 65 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน 0 3,500.00 -
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 กิจกรรม Big Cleaning 0 0.00 -
1 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมติดตาม ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สถานศึกษามีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง
  2. ครู นักเรียน ตระหนักและมีส่วนร่วมในการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. สถานศึกษามีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI=0
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ย. 2565 10:23 น.