กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนกระตุ้นให้มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดเช่นภาวะพิษแห่งครรภ์ในระหว่างการตั้งครรภ์ ลดอัตราตายของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์มากกว่าร้อยละ ๗๐
0.00

 

2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ให้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ , ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง คลอดที่โรงพยาบาล และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60
0.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)
ตัวชี้วัด : อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)< 50/พันคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 705
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 605
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนกระตุ้นให้มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดเช่นภาวะพิษแห่งครรภ์ในระหว่างการตั้งครรภ์ ลดอัตราตายของมารดาและทารก (2) 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ให้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์  ,  ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง  คลอดที่โรงพยาบาล และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (3) 3.เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม  คืนข้อมูลงานนามัยแม่และเด็ก  วิเคราะห์และร่วมกันวางแผนพัฒนา (2) จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ฟื้นฟูความรู้ในเรื่องการอนามัยแม่และเด็ก แก่ แกนนำชุมชน  (3) สำรวจ ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์(15-44 ปี) คู่สมรสใหม่และหญิงตั้งครรภ์สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 ครั้ง/ปี ไตรมาสที่1และ3 นำเสนอผลงานการอนามัยแม่และเด็ก และทำ work shopตรวจการตั้งครรภ์ในชุมชน        (4) จัดทีมเยี่ยมบ้านให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ซีดและหลังคลอดถึงการปฏิบัติตัวและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ (5) 4 :รณรงค์  ประชาสัมพันธ์  เคาะประตู แจกใบปลิว การฝากครรภ์ก่อน 12  สัปดาห์    และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ทุก ๓ เดือนบริการตรวจการตั้งครรภ์โดยใช้ urine preg test  และนำส่งหญิงตั้งครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (6)  จัดประกวดชุมชนนำส่งหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ดีเด่น พิจารณาตามเกณฑ์  (7) ประเมินผลงานอนามัยแม่และเด็กตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข และจัดทำข้อเสนอแนะ สำหรับ  การวางแผนงานและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh