กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนวัยใส ห่างไกลเหา
รหัสโครงการ 66-L2490-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดกำแพง
วันที่อนุมัติ 18 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 พฤศจิกายน 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 13,110.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนิมมิตา คงประเสริฐ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 13,110.00
รวมงบประมาณ 13,110.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 67 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (อายุ 3 ปีขึ้นไป) มีความรู้และวิธีการป้องกันกำจัดเหา
67.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศรีษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เนื่องจากคันหนังศรีษะ ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหา ซึ่งวิธีการรักษาเหาดังกล่าวเป็นวิธีการที่รักษาได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา

ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา

67.00 80.00
2 2.เพื่อให้นักเรียนรู้วิธีในการกำจัดเหา

ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่เป็นเหารู้วิธีการดูแลรักษาโรคเหา

67.00 70.00
3 3. เพื่อรักษาโรคเหาในเด็กนักเรียน

ร้อยละ 70 โรงเรียนรักษาโรคเหาได้

67.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 67 13,110.00 2 13,110.00
18 พ.ย. 65 - 29 ก.ย. 66 กิจกรรมหมั่นสาง หมั่นสระ ห่างไกลโรคเหา 67 4,925.00 4,925.00
18 พ.ย. 65 - 29 ก.ย. 66 กิจกรรมที่ 2 ปลอดเหาด้วยสองมือเรา 0 8,185.00 8,185.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดได้ถูกต้อง
  2. นักเรียน เรียนรู้ วิธีการผลิตแชมพูกำจัดเหาได้ด้วยตนเอง
  3. ลดการเกิดโรคเหาในกลุ่มวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ย. 2565 00:00 น.