กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูไรยา ดะเสะ




ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน

ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4153-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 23 มีนาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4153-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 23 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุหรือ“ภาวะประชากรผู้สูงอายุ” อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง เพิ่มมากขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพในปี 2564 ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 924คน คิดเป็นร้อยละ 12.0 ของประชากรทั้งหมดจากการประเมินศักยภาพความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 ติดสังคมจำนวน910 คน คิดเป็นร้อยละ 98.48 ติดบ้าน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.86ติดเตียงจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ0.64
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นระบบต่างๆในร่างกายย่อมเกิดความเสื่อมถอยส่งผลให้สมรรถภาพทางร่างกายในด้านต่างๆลดลง เช่น ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบประสาทและการทรงท่า เป็นต้น อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพ หนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพของผุ้สูงอายุมากที่สุดนั้นคือ “ภาวะกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ (Physical Inactivity)” จึงส่งผลสมรรถภาพทางด้านความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อลดลง ความทนทานของหัวใจและการไหลเวียนเลือดต่ำลง ประสิทธิภาพในการทรงตัวและความว่องไวอยุ่ในระดับต่ำจนนำไปสุ่การหกล้มในผู้สูงอายุได้ในที่สุด อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพตามมา หากผู้สูงอายุมีปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาพฤติกรรมการกิน การบริโภคอาหารการออกกำลังกาย ร่วมถึงปัญหาในเรื่องผู้สูงอายุขาดความรู้ ก็มักจะทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การจัดกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน ได้รับการดูแลและช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างยั่งยืน มีการจัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมาพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกันภายในชุมชน ดังนั้นกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลรามัน จึงได้คิดจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพที่เหมาะสม และการส่งเสริมสุขภาพทั้งกายใจ สังคมจิตวิญญาณ ครบถ้วนเป็นองค์รวมทั้ง 4 มิติของสุขภาวะ จึงเห็นว่าถ้าได้มีการจัดกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ประชาชนผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในเรื่องต่างๆ อย่างถูกวิธีก็จะทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจและการปฎิบัติตัวเพื่อให้ถูกต้อง และเหมาะสมข้อที่
  2. ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. .ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 90 2.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 2 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับ อสม.และผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 3.คัดกรองตรวจสุขภาพร่างกายและจิตใจในผู้สูงอายุฃ 4.กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ ฐานที่ 1 การประเมินและคัดกรองให้ความรู้สุขภาพในผู้สูงอายุ ฐานที่ 2 ตรวจประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายในผู้สูงอายุ ฐานที่ 3 ให้ความรู้ตรวจคัดกรองสายตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ฐานที่ 4 สร้างเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตนเหมาะสม ร้อยละ 90 2.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 90 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ร้อยละ 80

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจและการปฎิบัติตัวเพื่อให้ถูกต้อง และเหมาะสมข้อที่
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและปฎิบัติตนเหมาะสม ร้อยละ 90
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ร้อยละ80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจและการปฎิบัติตัวเพื่อให้ถูกต้อง และเหมาะสมข้อที่ (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้สูงอายุชะลอวัยใส่ใจสุขภาพและการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4153-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซูไรยา ดะเสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด