กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษา
รหัสโครงการ 66-L7577-2-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนเทศบาลตะโหมด
วันที่อนุมัติ 23 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2565 - 30 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนเทศบาลตะโหมด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนเทศบาลตะโหมด
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในสภาพปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคที่อุบัติเหตุใหม่มีการระบาดหลากหลายโรคตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมา ไม่ว่าจะเป็นโรคไข้หวัดนก โรคซาร์ส และโคโรนา2019 ที่ในสถานการณ์ปัจจุบันเป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดเป็นวงกว้างในประเทศและทั่วโลก ซึ่งในพื้นที่เทศบาลตำบลตะโหมดก็ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวด้วย ทำให้ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เกิดสถานการณ์การระบาดของเชื้อโรคต่างๆ โดยเฉพาะในเด็กช่วงอายุ 3-12 ปี ถือว่ามีความเสี่ยงในการติดเชื้อและการแพร่ระบาดที่สำคัญคือในพื้นที่สถานศึกษาที่มีความสำคัญและมีความเสี่ยงสูงเมื่อมีการแพร่ระบาดของโรค ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ จำเป็นต้องการดำเนินงานให้เกิดความรอบคอบ รัดคุมและมีมาตรการที่ชัดเจนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ร่วมไปถึงสถานที่ที่มีการร่วมกลุ่ม และรูปแบบการดำเนินงานที่เข้าข่ายกลุ่มเสี่ยง เช่น หน่วยบริการสถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษาศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลตะโหมด โรงเรียนเทศบาลตะโหมด ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดเทศบาลตำบลตะโหมดและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขจึงต้องมีการวางมาตรฐานแก้ไขสถานการณ์โรคติดต่อในสถานศึกษาให้ทันต่อสถานการณ์ในแพร่ระบาดและป้องกันโรคโดยเฉพาะในสถานศึกษาที่มีกลุ่มเปราะบางเสี่ยงต่อการติดเชื้ออย่างเด็กและเยาวชนดังนั้นเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชนตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดหาตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงในการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษาที่กำลังระบาดในพื้นที่

นักเรียนและบุคคลากรทางการศึกษากลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อโรคติดต่อในสถานศึกษา ร้อยละ 100

0.00
2 เพื่อจัดหาเจลแอลกอฮอล์และอุปกรณ์ทำความสะอาดสถานที่ที่มีความเสี่ยงต่อโรคติดต่อเริ่มต้นจากตนเอง

นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเป้าหมายสามารถเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อที่กำลังระบาดในพื้นที่ ร้อยละ 100

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเริ่มต้นจากตนเอง

นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโดยเริ่มต้นจากตนเอง

0.00
4 เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดต่อในสถานศึกษา

ลดและป้องกันความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในสถานศึกษา

0.00
5 เพื่อให้นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางศึกษารู้จักนำความรู้ด้านสมุนไพรในการป้องกันโรคต่างๆ

สวนสมุนไพรในโรงเรียนที่มีสมุนไพรในการป้องกันโรค เช่น ฟ้าทะลายโจร เป็นต้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 0 0.00
1 ธ.ค. 65 - 30 มี.ค. 66 1 การดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อในสถานศึกษา 0 22,000.00 -
1 ธ.ค. 65 - 30 มี.ค. 66 กิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ถึงมาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในสถานศึกษา 0 8,000.00 -
1 - 30 ธ.ค. 65 จัดทำสวนสมุนไพรต้านโรค 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 2 นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาลดและป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคติดต่อในสถานศึกษา 3 สถานศึกษามีมาตรฐานในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ย. 2565 09:31 น.