กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.๑ เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ๑.๒ เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชน กลุ่มอาสาสมัครและผู้นำชุมชนในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง ๑.3 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ “ขยะเปียกลดโลกร้อน” และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นที่ ๑.๔ เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของประชาชนในพื้นที่หรือเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน
ตัวชี้วัด : ๗.1 เพื่อขับเคลื่อนการลดปริมาณและคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ๗.2 ประชาชนมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง ๗.3 ปริมาณขยะอินทรีย์ที่เข้าสู่แหล่งกำจัดมีปริมาณลดลง ๗.4 ประชาชนที่ดำเนินการสามารถใช้พื้นที่ที่จัดทำถังขยะเปียกปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายได้ในครัวเรือนได้ ๗.5 ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ผู้นำชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.) ดำเนินการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียกในครัวเรือนตนเอง ๗.6 เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกของหมู่บ้าน/ชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียงได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 810
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 810
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑ เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอินทรีย์และลดปริมาณขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ๑.๒ เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชน กลุ่มอาสาสมัครและผู้นำชุมชนในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง      ๑.3 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ “ขยะเปียกลดโลกร้อน” และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นที่ ๑.๔ เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของประชาชนในพื้นที่หรือเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh