โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 ”
ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณี รักหมัด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566
ที่อยู่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5180-2-07 เลขที่ข้อตกลง 13/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5180-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตลอดระยะเวลาที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุขมีการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งในการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนามีการดำเนินงานมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๑ จนถึงปัจจุบันซึ่งบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่มากขึ้นจึงมีการใช้เทคโนโลยี่ใหม่ๆในการรักษาพยาบาล ตลอจนด้านการสื่อสารต่างๆเพิ่มขึ้นทำให้ต้องมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขที่ต้องทำหน้าที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด เพื่อสนองนโยบายเรื่อง"สามหมอ"ของกระทรวงสาธารณสุขในยุคปัจจุบัน
การดำเนินงานสาธารณสุขโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมมาหลายรุ่นปฏิบัติงานอยู่ในชุมชนและมีการเปลี่ยนตัวบุคคลอยู่เรื่อยๆจึงทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานเนื่องจากขาความรู้และทักษะใหม่ๆที่ต้องใช้ เช่นการใช้แอปพลิเคชั่นสมาร์ทอสม.ในการสำรวจข้อมูลและส่งรายงานประจำเดือนการคีย์โครงการเข้าระบบเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัยในการเยี่ยมบ้านเหล่านี้เป็นต้นดังนั้นโครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปี๒๕๖๖ จึงเป็นวิธีที่จะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้โดยการให้อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทรทุกคนเข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆตลอดจนมีการฝึกปฏิบัติงานจริงที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหลังการอบรมเสร็จสิ้นซึ่งคาดว่าจะทำให้การปฏิบัติงานในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเพิ่มความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
- การฝึกปฏิบัติงานจริงที่รพ.สต.
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทร
88
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.อาสาสมัครสาธารณสุขมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ และมั่นใจในศักยภาพของตนเอง
๒.อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างที่ดีของชุมชนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน
ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ๙๐ ของอสม.เข้าร่วมอบรมตามโครงการ
๒.ร้อยละ๘๐ ของอสม.ที่เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น
๓.อสม.ทุกคนเข้ารับการฝึกปฏิบัติจริงที่รพ.สต.
1.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
88
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทร
88
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเพิ่มความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) การฝึกปฏิบัติงานจริงที่รพ.สต. (3) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5180-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพรรณี รักหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 ”
ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณี รักหมัด
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5180-2-07 เลขที่ข้อตกลง 13/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5180-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตลอดระยะเวลาที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุขมีการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งในการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนามีการดำเนินงานมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๑ จนถึงปัจจุบันซึ่งบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่มากขึ้นจึงมีการใช้เทคโนโลยี่ใหม่ๆในการรักษาพยาบาล ตลอจนด้านการสื่อสารต่างๆเพิ่มขึ้นทำให้ต้องมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขที่ต้องทำหน้าที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด เพื่อสนองนโยบายเรื่อง"สามหมอ"ของกระทรวงสาธารณสุขในยุคปัจจุบัน การดำเนินงานสาธารณสุขโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมมาหลายรุ่นปฏิบัติงานอยู่ในชุมชนและมีการเปลี่ยนตัวบุคคลอยู่เรื่อยๆจึงทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานเนื่องจากขาความรู้และทักษะใหม่ๆที่ต้องใช้ เช่นการใช้แอปพลิเคชั่นสมาร์ทอสม.ในการสำรวจข้อมูลและส่งรายงานประจำเดือนการคีย์โครงการเข้าระบบเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัยในการเยี่ยมบ้านเหล่านี้เป็นต้นดังนั้นโครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปี๒๕๖๖ จึงเป็นวิธีที่จะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้โดยการให้อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทรทุกคนเข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆตลอดจนมีการฝึกปฏิบัติงานจริงที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหลังการอบรมเสร็จสิ้นซึ่งคาดว่าจะทำให้การปฏิบัติงานในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเพิ่มความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
- การฝึกปฏิบัติงานจริงที่รพ.สต.
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทร | 88 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.อาสาสมัครสาธารณสุขมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ และมั่นใจในศักยภาพของตนเอง ๒.อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างที่ดีของชุมชนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ๙๐ ของอสม.เข้าร่วมอบรมตามโครงการ ๒.ร้อยละ๘๐ ของอสม.ที่เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ๓.อสม.ทุกคนเข้ารับการฝึกปฏิบัติจริงที่รพ.สต. |
1.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 88 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่าหมอไทร | 88 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้อสม.มีความรู้ด้านเทคโนโลยี่ดิจิทัลและใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน ตลอดจนเข้าใจนโยบายสามหมอ ๒.เพื่อให้อสม.ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานซึ่งกันและกัน ๓.เพื่อให้อสม.เข้าใจการทำงานในชุมชนวิถีใหม่ และสามารถส่งรายงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเพิ่มความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) การฝึกปฏิบัติงานจริงที่รพ.สต. (3) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอสม.นำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค ปี2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5180-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพรรณี รักหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......