กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกนกวรรณ รัตนบุรี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-43 เลขที่ข้อตกลง 84/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-43 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนการนำส่งไปยังสถานพยาบาลเป็นระยะที่สำคัญ เพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็น ''Golden Hour'' ของการรักษาผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆที่จะทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้มากที่สุดมากกว่าการได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การพัฒนาระบบรับแจ้งเหตุและการสั่งการที่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน การใช้หมายเลขโทรศัพท์ 1669 ทั้งนี้ ประชาชนในพื้นที่อำเภอสุไหงโกลกมีการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินมีจำนวนไม่มาก การพัฒนาหน่วยปฎิบัติการกู้ชีพเบื้องต้น ให้ได้มาตรฐานครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งจะต้องผ่านการอบรมให้มีความรู้ความสามารถในเรื่องระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น สามารถประเมินสภาพผู้ป่วยฉุกเฉินและสถานการณ์ และการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ ทั้งในสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภายใต้ ตลอดจนโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันที่ไม่สามารถคาดเดาได้ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบแตกตัน ซึ่งสามารถให้บริการในระบบช่องทางด่วนฉุกเฉินได้ ในปีที่ผ่านมา การให้บริการของเครือข่ายให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ของประชาชน การใช้หมายเลข 1669 ของประชาชน ในอำเภอสุไหงโกลก พบว่า คุณภาพการดูแลในด้านต่างๆ มีดังนี้ - ด้านการดูแลทางเดินหายใจ เป้าหมายร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ปี 2563-2565 ร้อยละ 99.3,98,98 ตามลำดับ
- ด้านการห้ามเลือด เป้าหมายร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ปี 2563-2565 ร้อยละ 100,97,98.5 ตามลำดับ
- ด้านการดามกระดูก เป้าหมายร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ปี 2563-2565 ร้อยละ 89.8,98.9,99 ตามลำดับ
จากผลการดำเนินงานดังกล่าวคุณภาพด้านการดูแลทั้ง3 ด้าน มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น แต่ไม่ผ่านตามเป้าหมาย โดยเฉพาะด้านการดามกระดูก และด้านอื่นๆ ยังต้องได้รับการฟื้นฟู ความรู้ ทักษะ การดูแลมากขึ้น ทั้งงาน pre hospital care ได้มีการแบ่งระดับในการรับผู้ป่วยเป็น 3 ระดับ คือ FR, BLS, ALS โดยเครือข่ายที่ดำเนินการช่วยเหลือและเข้าถึงประชาชนที่เร็วตามการสั่งการคือ FR เพื่อให้ผู้ปฎิบัติการกู้ชีพเบื้องต้นต้องได้รับการฟื้นฟู ความรู้และทักษะในการปฎิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินในระดับ FR เพื่อการช่วยเหลือณจุดเกิดเหตุที่ถูกต้องปลอดภัย งานอุบัติเหตุ ตะหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้และทักษะให้ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกวิธี
  2. เพื่อผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นเข้าใจวิธีการช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกวิธี ลดความสูญเสีย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมฟื้นฟู First Responder ประจำปี 2566
  2. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นมีความรู้และทักษะการกู้ชีพเบื้องต้นในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกวิธี
  2. ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นเข้าใจวิธีการช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกวิธีและลดความสูญเสีย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
คณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ขั้นเตรียมการ
แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
จัดทำโครงการ เพื่อนำเสนอ
สำรวจจำนวนบุคลากร ผู้ปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้น
ประสานขอความร่วมมือกับ สถานที่ที่จัดประชุมอบรมฟื้นฟู ห้องประชุม มูลนิธิเซิ่งหมู่
2. ขั้นดำเนินโครงการ
จัดทำหนังสือขออนุญาตเชิญประชุม เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้น
เตรียมเอกสาร PRE TEST และ POST TEST ในการอบรม
เตรียมอุปกรณ์และสถานที่ในการจัดอบรม
งบประมาณ
ไม่ใช้งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมฟื้นฟู First Responder ประจำปี 2566

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้น 80 คน
รายละเอียดกิจกรรม
เตรียมอุปกรณ์ และจัดสถานที่ในการจัดการอบรม ห้องประชุมมูลนิธิเซิ่งหมู่ธารน้ำใจสุไหงโก-ลก
ทำข้อสอบ Pre Test
พิธีเปิดโครงการ
จัดอบรม เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้น แบ่งเป็นภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 1 วัน
ทบทวนการฝึกอบรม โดยฝึกสถานการณ์จำลองในภาพรวม เพื่อประเมินผลในแต่ละรุ่น
ประเมินความรู้หลังเรียน Post Test
กำหนดการ
08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน
08.45 - 09.00 น. เปิดโครงการ / ทำข้อสอบ Pre Test
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง การดูแลผู้บาดเจ็บเบื้องต้น ตามข้อกำหนดของ สพฉ. (วิทยากรบรรยาย)
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.00 น. กิจกรรมกลุ่ม ฝึกสถานการณ์จำลอง ฐานจำลอง 8 ฐาน (วิทยากรกลุ่ม)
งบประมาณ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  4,800 บาท ค่าอาหารกลางวัน  4,800 บาท
ค่าถ่ายเอกสาร  180 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย  3,600 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร กลุ่ม  14,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้และทักษะให้ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นมีความรู้และทักษะการกู้ชีพเบื้องต้นในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นเข้าใจวิธีการช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกวิธี ลดความสูญเสีย
ตัวชี้วัด : อัตราการสูญเสียชีวิต = 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้และทักษะให้ผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกวิธี (2) เพื่อผู้ปฎิบัติการการกู้ชีพเบื้องต้นเข้าใจวิธีการช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกวิธี ลดความสูญเสีย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมฟื้นฟู First Responder ประจำปี 2566 (2) ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูหน่วย First Responder ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-43

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกนกวรรณ รัตนบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด