กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต) ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์




ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต)

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L-5251-1-02 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L-5251-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไข นอกจากโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไขมันในเลือดสูง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการ ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี
      การค้นหาและการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชน มีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว เป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักสุขภาพถ้วนหน้า ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน การสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ขาดการออกกำลังกายรวมถึงภาวะความเครียด หากได้มีการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น เพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆ ที่จะตามมาได้เป็นอย่างมาก จากการสำรวจและคาดประมาณจำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจำนวน 2,001 ราย และคาดคะเนว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี จากการสำรวจประชากรปี2565 ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่อยู่ในตำบลสำนักขาม พบว่ามีประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปมีจำนวนทั้งหมด 3,689 ราย ได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันจำนวน 2,494 ราย มีเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 655 ราย,เสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 298 ราย และมีแพทย์วินิจฉัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 17 ราย โรคเบาหวานจำนวน 2 ราย (สำนักงานสาธารณสุขสงขลา,2565) ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จึงเป็นบทบาทสำคัญในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นกิจกรรมในส่วนของงานบริการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อคัดกรองค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน รวมถึงการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน รวมทั้งส่งต่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
    ดังนั้นเพื่อเป็นการคัดกรองและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ประชาชนที่มีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยจากการคัดกรองเบาหวานความดันททางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อคัดกรองเบื้องต้นในโรคเบาหวานความดัน และผลักดันให้ประชาชนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีการเข้าคลินิก DPAC และส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง ๓ อ (อาหารออกกำลังกายอารมณ์ )
๒ ส. ( สุราสารเสพติด )และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเข้าร่วมคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC)และมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ๓ อ. ( อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์ ) ๒ ส.(สุรา/สารเสพติด )
  3. 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
  2. 2.สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
  3. 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขออุดหนุนงบประมาณ
  4. 4.จัดซื้อเครื่องมือแพทย์ เพื่อใช้ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง และตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบหมู่1,2,5,6,7 โดยต่อหมู่จะมีเครื่องเจาะ DTX และเครื่องวัดความดัน จำนวนอย่างละ 2 เครื่อง
  5. 5.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
  6. 6.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ
  7. 7.กิจกรรมตรวจคัดกรองกรองภาวะความดันโลหิตสูง ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบโดยสถานที่คัดกรองดังนี้ หมู่ 1 บริเวณศาลาอเนกประสงค์หมู่ 1 เวลา 07.00-09.00 น. หมู่ 2 วัดศรีวิเทศสังฆราม/มัสยิดหมู่2ซอยผู้ใหญ่ เวลา 07.0
  8. 8.ดำเนินการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวนกลุ่มเป้าหมายประมาณ 5๐ คนโดยมีนักโภชนาการโรงพยาบาลสะเดาให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยนระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงและนักกายภาพบำบัดโรงพย
  9. 9.กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลและติดตามเพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ
  10. 7.1 ดำเนินการแยกกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย คัดแยกเข้าร่วมโครงการ DPAC และทำแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ2ส ก่อน-หลั

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 3,689
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. ประชาชนที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ได้จากการคัดกรองได้รับการนัดหมายเพื่อตรวจ ซ้ำยืนยันหรือได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
      3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยน้ำตาลในเลือดสูงและโรคความดันหิตสูงได้รับการเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (คลินิก DPAC)
4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3อ2ส 5.กลุ่มเป้าหมายผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความตระหนักในความสำคัญของการดูแลสุขภาพตลอดจนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90 ได้รับแจ้งผลการตรวจ คำแนะนำ และส่งต่อผู้ป่วยกรณีพบความผิดปกติ
1.00 60.00

กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90 ได้รับแจ้งผลการตรวจ คำแนะนำ และส่งต่อผู้ป่วยกรณีพบความผิดปกติ

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเข้าร่วมคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC)และมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ๓ อ. ( อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์ ) ๒ ส.(สุรา/สารเสพติด )
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเข้าร่วมคลินิก DPAC
1.00 100.00

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเข้าร่วมคลินิก DPAC

3 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมร้อยละ 90
1.00 100.00

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมร้อยละ 90

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3689 697
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 3,689 697
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเข้าร่วมคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC)และมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ๓ อ. ( อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์ ) ๒ ส.(สุรา/สารเสพติด ) (3) 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย (2) 2.สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (3) 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขออุดหนุนงบประมาณ (4) 4.จัดซื้อเครื่องมือแพทย์ เพื่อใช้ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง  และตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบหมู่1,2,5,6,7 โดยต่อหมู่จะมีเครื่องเจาะ DTX และเครื่องวัดความดัน จำนวนอย่างละ 2 เครื่อง (5) 5.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (6) 6.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง  ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ (7) 7.กิจกรรมตรวจคัดกรองกรองภาวะความดันโลหิตสูง  ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบโดยสถานที่คัดกรองดังนี้ หมู่ 1 บริเวณศาลาอเนกประสงค์หมู่ 1 เวลา 07.00-09.00 น. หมู่ 2 วัดศรีวิเทศสังฆราม/มัสยิดหมู่2ซอยผู้ใหญ่ เวลา 07.0 (8) 8.ดำเนินการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวนกลุ่มเป้าหมายประมาณ  5๐ คนโดยมีนักโภชนาการโรงพยาบาลสะเดาให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยนระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงและนักกายภาพบำบัดโรงพย (9) 9.กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลและติดตามเพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ (10) 7.1 ดำเนินการแยกกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย คัดแยกเข้าร่วมโครงการ DPAC และทำแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ2ส ก่อน-หลั

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต)

รหัสโครงการ L-5251-1-02 รหัสสัญญา 5/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L-5251-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด