กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮานีซะ สตาปอ




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-02-13 เลขที่ข้อตกลง 017/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 107 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาไข้เลือดออกเป็นปัญหาเรื้อรังในชุมชน ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และด้านสังคม โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค รวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่ก่อให้เกิดการระบาดของโรค โดยพบว่ายุงลายมีการวางไข่ และขยายพันธ์ได้ตลอดทั้งปี ซึ่งยุงลายตัวเมียผสมพันธ์เพียงครั้งเดียวสามารถวางไข่ได้ครั้งละมากๆตลอดชีวิต และเชื้อโรคไข้เลือดออกสามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธ์จากแม่ยุงลายสู่ไข่ และลูกยุงลายได้ หากไม่มีการควบคุมป้องกันโรคที่ดีก็จะทำให้เกิดโรคนี้ขึ้น และแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว กรมควบคุมโรคจึงขอแนะนำให้ประชาชนช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้าน และบริเวณบ้าน โดยใช้มาตรการ 3 เก็บป้องกัน 3 โรค(โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา) ให้สะอาดไม่ให้ยุงลายเข้ามาเกาะพัก เก็บภาชนะที่มีน้ำขังเพื่อป้องกันยุงลายไปวางไข่เก็บขยะภายในบริเวณบ้านให้เรียบร้อยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและจัดกิจกรรมเสริมในการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงการป้องกันตนเองจากการถูกยุงกัดด้วยเหตุนี้ทางกลุ่มพัฒนางานสุขภาพภาคประชาชนรพ.สต.บ้านโคกศิลา จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นเพื่อเป็นการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม และเห็นความสำคัญในการป้องกันโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การทำลายเเหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเเละการปรับสภาพเเวดล้อมในพื้นที่่
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 107
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 2.ชุมชนสะอาด ปลอดจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การทำลายเเหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเเละการปรับสภาพเเวดล้อมในพื้นที่่

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการคัดเลือกประชาชนกลุ่มเป้าหมายตัวแทนจากครัวเรือนฯ ละ 1 คน ทั้ง 3 หมู่บ้าน เข้าร่วมโครงการจำนวน  107 คน มีการจัดโครงการแยกเป็นรายหมู่บ้าน ดังนี้ ม.4 บ้านกูแบสาลอ จำนวน 36 คน ม.5บ้านจาเราะสโตร์ จำนวน 37 คน และม.6 บ้านโคกศิลา จำนวน 34 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ และปรับสภาพแวดล้อมในบ้าน และบริเวณบ้าน พร้อมให้มีการสาธิตปฏิบัติ สำรวจในละแวกบ้านของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายตัวแทนจากครัวเรือนฯ ละ 1 คน ทั้ง 3 หมู่บ้าน เข้าร่วมโครงการจำนวน  107 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ดำเนินการจัดโครงการแยกเป็นรายหมู่บ้าน ดังนี้ ม.4 บ้านกูแบสาลอ จำนวน 36 คน ม.5บ้านจาเราะสโตร์ จำนวน 37 คน และม.6 บ้านโคกศิลา จำนวน 34 คน จากกิจกรรมดังกล่าว ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในบ้าน บริเวณบ้าน ให้ถูกสุขลักษณะ สะอาด ทำให้ไม่มีภาชนะที่มีน้ำขัง ที่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายได้ถูกต้อง ร้อยละ10011

 

107 0

2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 107 คน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในบ้าน บริเวณบ้าน จากกิจกรรมที่ 1 แล้ว กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้มีการรณรงค์เฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน เดินสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้าน บริเวณบ้าน  ทำความสะอาดหน้าบ้าน  เก็บขยะบริเวณถนน และมัสยิด จำนวน 3 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสำรวจหลังคาเรือน ทั้งหมด 125 หลังคาเรือน แยกรายหมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 4 บ้านกูแบสาลอ สำรวจจำนวน  40 หลังคาเรือน พบว่า ค่า HI เท่ากับ 5 ค่า CI เท่ากับ 2.42 ,หมู่ที่ 5 บ้านจาเราะ สโตร์ สำรวจจำนวน  42 หลังคาเรือน พบว่า ค่า HI เท่ากับ 2.38 ค่า CI เท่ากับ 0.81 และหมู่ที่ 6 บ้านโคกศิลา สำรวจจำนวน 43 หลังคาเรือน พบว่า ค่า HI เท่ากับ 2.33 ค่า CI เท่ากับ 0.81  ในส่วนผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายบริเวณมัสยิด ทั้ง 3 หมู่บ้าน พบว่า ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะที่มีน้ำขัง ทั้งในห้องน้ำมัสยิด และอ่างน้ำสำหรับอาบน้ำละหมาด ทั้งนี้ได้มีการทำความสะอาดอ่างน้ำสำหรับอาบน้ำละหมาด และทำความสะอาดรอบๆบริเวณมัสยิด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายลดลงไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
10.00 5.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
50.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 107
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 107
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การทำลายเเหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเเละการปรับสภาพเเวดล้อมในพื้นที่่ (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮานีซะ สตาปอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด