กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566 ”

รพ.สต.ตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอันวา ยูโซีะ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566

ที่อยู่ รพ.สต.ตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2497-1-5 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2497-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด พื้นที่ตำบลตะปอเยาะ เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล 3 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยเป็นไข้เป็นไข้เลือดดังนี้คือ ปี พ.ศ.2563คิดเป็นอัตราป่วย 56.32ต่อประชากรแสนคนพ.ศ.2564 คิดเป็นอัตราป่วย 0ต่อประชากรแสนคน และ พ.ศ.2565 เป็นอัตราป่วย 75.27ต่อประชากรแสนคนจากข้อมูลดังกล่าวพบว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มที่สูงการระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน กรกฎาคม – ธันวาคมของทุกปีชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายของโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดใน การแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึง สภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2 เพื่อควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3 เพื่อให้การปฏิบัติงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ภายใน 24 ชั่วโมง 4 เพื่อให้ประชาชนความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน อสม. ผู้นำชุมชน ครู
  2. จัดกิจกรรม อสม. ออกสุ่มตรวจหาความชุกลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน มัสยิดโรงเรียน ที่ตั้งในชุมชนนั้นๆ ในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอายุลดลง ไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน 2 ประชาชนและหน่วยงานมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของภัยโรคไข้เลือดออก 3 ชุมชนและโรงเรียนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน อสม. ผู้นำชุมชน ครู

วันที่ 7 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน อสม. ผู้นำชุมชน  เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หลังจากการอบรมให้ความรู้ และซักถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ขณะอบรมและหลังการอบรม ผู้ร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 85

 

0 0

2. จัดกิจกรรม อสม. ออกสุ่มตรวจหาความชุกลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน มัสยิดโรงเรียน ที่ตั้งในชุมชนนั้นๆ ในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันโรคไข้เลือดออกทุกหมู่บ้าน และสุ่มตรวจหาความชุกลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน การออกสุ่มตรวจหาความชุกลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน มัสยิดโรงเรียน ที่ตั้งในชุมชนนั้นๆ ในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • หลังการดำเนินการ ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จนทำให้ ค่า hi และ ci ลดลง  สามารถควบคุมอัตราป่วยในพื้นที่ลดลงจากปีที่ผ่าน ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันโรค
  • อาสาสมัครสาธารณสุข มีการแจ้งเตือน ประสานงานกันในกลุ่ม เคลื่อนที่เร็วและมีการเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ เช่น สเปรย์กำจัดยุง เพื่อให้การปฏิบัติงานอย่างรวดเร็ว

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2 เพื่อควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3 เพื่อให้การปฏิบัติงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ภายใน 24 ชั่วโมง 4 เพื่อให้ประชาชนความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของหมู่บ้ำน/ชุมชน มีค่าHI ≤ 10 2.ร้อยละ 80 ของโรงเรียน/มัสยิด/สถานที่อื่นๆมีค่าCI = 0 3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอายุลดลง ไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน 4.ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยไข้เลือดออก ได้รับการควบคุมและสอบสวนโรคครบถ้วนทันเวลา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2 เพื่อควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 3 เพื่อให้การปฏิบัติงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ภายใน 24 ชั่วโมง 4 เพื่อให้ประชาชนความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน อสม. ผู้นำชุมชน ครู (2) จัดกิจกรรม อสม. ออกสุ่มตรวจหาความชุกลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน มัสยิดโรงเรียน ที่ตั้งในชุมชนนั้นๆ ในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลตะปอเยาะ ปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2497-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอันวา ยูโซีะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด