กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก และโดยรอบรัศมี 100 เมตร ร่วมกับสาธารณสุขในพื้นที่6 มกราคม 2566
6
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลปาเสมัส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

3.4.2 กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการควบคุมโรคช่วงระบาด (เป็นการดำเนินงาน ระยะที่ 2 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2566 - สิงหาคม พ.ศ.2566 ) ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง เฉพาะบ้านผู้ป่วยโดยจะทำการฉีดพ่นบ้านผู้ป่วย จำนวน 30 หลัง ๆ ละ 2 ครั้ง โดยห่างกัน 7 วัน ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงในรัศมี 100 เมตร ของบ้านผู้ป่วยและจุดที่สงสัยเป็นแหล่งโรค

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 มีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
2 มีเครื่องมือและเวชภัณฑ์เพียงพอ ในการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ 3 อัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรคลดลง

ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน /ศดม./ศพด. และศาสนสถาน1 ตุลาคม 2565
1
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลปาเสมัส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีการดำเนินการ 3.1 เขียนโครงการนำเสนอขออนุมัติ 3.2 ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.3 ประชาสัมพันธ์โครงการการ ฯ 3.4 ดำเนินการตามโครงการ ฯ 3.4.1 กิจกรรมที่ 1 ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (การป้องการโรคล่วงหน้าก่อนช่วงระบาด เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อ) โดยทำการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง จำนวน 3 ครั้ง ดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงในโรงเรียน /ศดม. / ศพด และศาสนสถาน (เป็นการดำเนินงาน ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2566- กันยายน พ.ศ.2566)
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

9.1 มีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
9.2 มีเครื่องมือและเวชภัณฑ์เพียงพอ ในการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ 9.3 อัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรคลดลง