กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชนปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L2535-01-9
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปาเสมัส
วันที่อนุมัติ 22 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 136,750.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวดาริยา ขุนจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายอายิ หะมาดุลลาห์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เพศชายเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายควรที่จะสามารถรูดจนเผยให้เห็นถึงบริเวณ หัวของอวัยวะส่วนสำคัญได้ทั้งหมด และสามารถรูดกลับได้โดยที่ไม่เจ็บหรือเกิดความยากลำบาก เพื่อสุขอนามัยที่ดีในการดูแลอวัยวะส่วนสำคัญนี้ เนื่องจากหากไม่สามารถรูดเปิดออกมาได้หมดก็จะทำให้ไม่สามารถล้างสิ่งสกปรก ที่หมักหมมอยู่ภายใต้หนัง อันประกอบด้วยเหงื่อ คราบปัสสาวะ ขี้ไคล ทำให้เกิดคราบขาวๆ ที่เราเรียกว่า ขี้เปียก เกิดขึ้นได้ และปัจจุบันได้มีการวิจัยไว้ว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายมีผลดีต่อทางการแพทย์ สามารถลดการเกิดโรคได้ เช่น ลดโอกาสที่จะติดโรคทางเดินปัสสาวะมากกว่าเด็กที่ไม่ได้ขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศ นอกจากนี้แล้ว และการติดเชื้อแบคทีเรียจากสิ่งสกปรกที่หมักหมมอยู่ภายใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การศึกษายังแสดงให้เห็นว่าคนที่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีอัตราเสี่ยงต่อการติดโรคทางเพศน้อยมาก ส่วนผู้ชายที่ไม่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศนั้นจะมีโอกาสติดเชื้อมากกว่าเพราะในระหว่างการมีความสัมพันธ์ทางเพศนั้น หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศสามารถถลอกออกหรือเป็นแผลเล็กๆ ที่ทำให้เชื้อไวรัสเข้าไปในบาดแผลนั้นได้ ซึ่งหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศอาจจะปล่อยให้ไวรัสและเชื้อโรคอื่นๆ สามารถอยู่รอดได้ยาวนานกว่า ที่อยู่ข้างนอกและมีเวลามากกว่าที่จะเข้าไปในร่างกาย ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้เห็นความสำคัญของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และเข้าถึงบริการสาธารณสุข ด้านการสุขภาพและการป้องกันโรค เทศบาลตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปี งบประมาณ 2566” เพื่อสนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคในกลุ่มเด็กและเยาวชนในตำบลปาเสมัสขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ

 

0.00
2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะ โรคติดเชื้อ

 

0.00
3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

 

0.00
4 เพื่อผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศ เป็นการรักษา ความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 136,750.00 0 0.00
1 มี.ค. 66 - 31 ก.ค. 66 ให้ความรู้การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อและการดูแลสุขภาพหลังการขลิบเพื่อ ป้องกันการติดเชื้อแก่เด็กและเยาวชนและผู้ปกครอง 0 7,750.00 -
1 มี.ค. 66 - 31 ก.ค. 66 กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน 0 129,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ 2 สามารถรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะ โรคติดเชื้อ 3 เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
4 เด็กและเยาวชนได้รับผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศเป็นการรักษาความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ย. 2565 00:00 น.