กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนอนุบาลเมืองจะนะส่งเสริมสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L8367-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนอนุบาลเมืองจะนะ
วันที่อนุมัติ 6 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสำเนาว์ รักษ์ทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 พ.ย. 2565 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 177 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กมีน้ำหนักน้อยน้อย ผอม หรือค่อนข้างผอม
18.00
2 เด็กมีฟันผุและสุขภาวะช่องปาก
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาเด็กอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6ปีและเรียนรู้เกี่ยวกับพัฒนาการเด็กความต้องการของเด็ก สอนให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ฝึกพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น พัฒนาการทางร่างกาย พัฒนาการทางด้านสังคม พัฒนาการทางด้านอารมณ์ ด้านจิตใจและพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็กจะเจริญเติบโตตั้งแต่อยู่ในครรภ์กระทั่งหลังคลอด ร่างกายและสมองจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 0-6 ปี แรกของชีวิต ขบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ซึ่งพัฒนาการ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านวุฒิภาวะ (maturity) ของอวัยวะระบบต่างๆและตัวบุคคล ทำให้เพิ่ม ความสามารถของบุคคลให้ทำหน้าที่ต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำสิ่งที่ยากและซับซ้อนยิ่งขึ้นได้ ตลอดจนการเพิ่มทักษะใหม่ และความสามารถในการปรับตัวในภาวะใหม่ของบุคคลนั้น จากคำกล่าวข้างต้นจะเกิดขึ้นไม่ได้เนื่องจากการจัดประสบการณ์เด็กปฐมวัยยังพบปัญหาในเรื่องสุขภาพและพัฒนาการเด็กปฐมวัย รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยจากบทบาทของผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย ชุมชน และองค์กรภาคีเครือข่ายต่างๆ จากสภาพปัญหา คือ 1.เด็กมีน้ำหนักน้อยน้อย ผอม หรือค่อนข้างผอม จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 18
2.เด็กมีฟันผุและสุขภาวะช่องปาก จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 60

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดทำอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ

เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ น้ำหนักน้อย หรือผอมมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น  ร้อยละ 80

80.00
2 เพื่อจัดชื้อแปรงสีฟัน ยาสีฟันสำหรับเด็กปฐมวัย

เด็กนักเรียนมีฟันสะอาด   ร้อยละ  100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66
1 กิจกรรมการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัย(1 พ.ย. 2565-7 มี.ค. 2566) 0.00          
2 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย(25 พ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 0.00          
รวม 0.00
1 กิจกรรมการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กนักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น
    1. เด็กนักเรียนมีฟันที่สะอาด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2565 11:17 น.