กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566 ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนุ้ย เชิดชู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2484-03-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2484-03-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 180 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของไทย ทำให้ลดอัตราการเพิ่มประชากรได้อย่างรวดเร็วส่งผลให้จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มอย่างรวดเร็วกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุมีการเสื่อมถอยของอวัยวะของร่างกาย อาจหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่เกิดจากสภาพแวดล้อมและการดำรงชีวิตที่ผ่านมาของผู้สูงอายุคนนั้นการจะให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเป็นเรื่องยากในผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุจะมีภูมิต้านทานโรคน้อยกว่าวัยอื่นผู้สูงอายุจึงมีโอกาสเจ็บป่วยมากกว่าวัยอื่นๆ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเริ่ม ตั้งแต่สุขภาพยังไม่ทรุดโทรมมาก และทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง ศูนย์การเรียนรู้และฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีชมรมผู้สูงอายุจำนวน 4 ชมรม โดยการรวมตัวกันของกลุ่มผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน ซึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกันและเป็นการพัฒนาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีความสดชื่นเบิกบาน กลุ่มผู้สูงอายุในตำบลบางขุนทองแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มติดเตียง ติดบ้าน และติดสังคม จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566 ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่มมีความรู้และสามารถดูแลตนเองตามหลัก 6 อ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตามสิทธิประโยชน์และได้รับการดูแลด้านสุขภาพจากเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง
  2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักการ 6 อ ในชมรมผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมทำยาพอกเข่าสมุนไพรในผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ เข้าใจ และนำทักษะที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับความพึ่งพอใจในการจัดบริการ
  3. สร้างขวัญกำลังใจให้ผู้สูงอายุเข้มแข็ง สามารถเข้าร่วมและดำเนินกิจกรรมชมรมได้อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ อสม. แนวทางในการออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพได้อย่างทั่วถึง ได้รับการส่งเสริมสุขภาพการแนะนำการดูแลตนเองและการดูแลผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงแก่ผู้ดูแล

 

0 0

2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักการ 6 อ ในชมรมผู้สูงอายุ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของตนเองด้วยหลัก 6อ กิจกรรมบรรยายธรรมแก่ผู้สูงอายุึ และกิจกรรมอบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขของตนเองด้วยหลัก 6อ การได้พบปะพูดคุยเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุทำให้รู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่าในสังคมได้การผ่อนคลายความเครียด  ทำให้สุขภาพกายและสุขภาพใจดีขึ้น

 

0 0

3. กิจกรรมทำยาพอกเข่าสมุนไพรในผู้สูงอายุ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และการทำยาพอกเข่าสมุนไพรในผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติใช้กับตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรูความเขช้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และการทำยาพอกเข่าสมุนไพรเพื่อรักษาอาการปวดข้อ ปวดเข่าในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุสามารถนำไปปฏิบัติใช้ด้วยตนเองที่บ้านและเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้

 

0 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความแก่ผู้สูงอายุเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองด้วสชวยศาตร์การแพทย์แผนไทย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นได้ร้อยละ 95 ผู้สูงอายุได้พบปะสังสรรค์ได้พูดคุยในเรื่องสุขภาพทำให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าในการใช้ชีวิตและได้ผ่อนคลายความเครียดเมื่อได่มาเข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่มมีความรู้และสามารถดูแลตนเองตามหลัก 6 อ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ร้อยละ 88
0.00 95.00

ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ร้อยละ 95

2 เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตามสิทธิประโยชน์และได้รับการดูแลด้านสุขภาพจากเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 100
0.00 100.00

ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 100

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมชมรม มากกว่าร้อยละ 60
0.00 100.00

ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมชมรม ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 180 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่มมีความรู้และสามารถดูแลตนเองตามหลัก 6 อ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตามสิทธิประโยชน์และได้รับการดูแลด้านสุขภาพจากเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักการ 6 อ ในชมรมผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมทำยาพอกเข่าสมุนไพรในผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2484-03-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนุ้ย เชิดชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด