โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร
ธันวาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่องค์การสหประชาชาติประกาศให้เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีอุบัติการณ์อัตราป่วยและอัตราตายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลกมีผู้ป่วยจำนวน 463 ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 629 ล้านคน สำหรับประเทศไทยโรคเบาหวานเป็น 1 ใน 5 โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือประมาณ 320,000 คนต่อปีและทุก 1 ชั่วโมงมีผู้เสียชีวิต 37 ราย และพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.2 ล้านคน ของกระทรวงสาธารณสุข สาเหตุของการเจ็บป่วยส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรม ในขณะที่สาเหตุหลักมาจากวิถีการดำเนินชีวิตที่ขาดการดูแลสร้างเสริมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านอาหารและการออกกำลังกาย สภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนไปในทางที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น (กรมควบคุมโรค, 2564)
รายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ในปี พ.ศ. 2564 จังหวัดตรัง พบว่า มีผู้ป่วย จำนวน 4,130 คน คิดเป็นอัตรา 644.73 ต่อแสนประชากร ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2563 ที่ผ่านมา (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง, 2564) จากการคัดกรองและศึกษาข้อมูลปัญหาสุขภาพชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ในปี พ.ศ. 2565 พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน คิดเป็นอัตรา 9.13 ต่อพันประชากร ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขที่ต้องลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา และพบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 65 คน คิดเป็นอัตรา 98.93 ต่อพันประชากร (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร, 2565)
ปัจจุบันประเทศไทยมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อมในการแก้ปัญหา โดยเน้นการคัดกรองโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนให้ได้รับการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษา สำหรับพฤติกรรม
สุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคเบาหวาน ได้แก่ พฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียดที่ไม่เหมาะสม (กรมควบคุมโรค, 2555) ซึ่งโรคเบาหวานเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิต สามารถป้องกันได้ การรักษาภายหลังการเกิดโรคอย่างเดียว ไม่สามารถลดภาระผู้ป่วย ครอบครัว และสังคมในระยะยาวได้ ดังนั้นการป้องกันการเกิดโรคจึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไป
จากการร่วมกันจัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้านของประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน พบว่า ปัญหาจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น เป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขมากที่สุด เนื่องจากเมื่อป่วยด้วยโรคเบาหวานแล้วไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ก่อให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ส่งผลต่อเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว อีกทั้งโรคเบาหวานยังเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่น ๆ ในกลุ่มโรค NCDs อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคไต เป็นต้น
จากประเด็นปัญหาดังกล่าว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ดำเนินกิจกรรมกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน นำผลที่ได้ไปปรับใช้และพัฒนาในบริการหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานสามารถปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพ นำความรู้ ไปใช้เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน และเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัวและชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบล
เขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ นำความรู้ไปใช้เพื่อลด
ค่าระดับน้ำตาลในเลือด ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน
- ประชาชน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถนำรูปแบบกิจกรรมเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัว และชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว
ธันวาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่องค์การสหประชาชาติประกาศให้เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีอุบัติการณ์อัตราป่วยและอัตราตายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลกมีผู้ป่วยจำนวน 463 ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 629 ล้านคน สำหรับประเทศไทยโรคเบาหวานเป็น 1 ใน 5 โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือประมาณ 320,000 คนต่อปีและทุก 1 ชั่วโมงมีผู้เสียชีวิต 37 ราย และพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.2 ล้านคน ของกระทรวงสาธารณสุข สาเหตุของการเจ็บป่วยส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรม ในขณะที่สาเหตุหลักมาจากวิถีการดำเนินชีวิตที่ขาดการดูแลสร้างเสริมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านอาหารและการออกกำลังกาย สภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนไปในทางที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น (กรมควบคุมโรค, 2564)
รายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ในปี พ.ศ. 2564 จังหวัดตรัง พบว่า มีผู้ป่วย จำนวน 4,130 คน คิดเป็นอัตรา 644.73 ต่อแสนประชากร ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2563 ที่ผ่านมา (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง, 2564) จากการคัดกรองและศึกษาข้อมูลปัญหาสุขภาพชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ในปี พ.ศ. 2565 พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน คิดเป็นอัตรา 9.13 ต่อพันประชากร ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขที่ต้องลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา และพบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 65 คน คิดเป็นอัตรา 98.93 ต่อพันประชากร (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร, 2565)
ปัจจุบันประเทศไทยมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อมในการแก้ปัญหา โดยเน้นการคัดกรองโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนให้ได้รับการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษา สำหรับพฤติกรรม
สุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคเบาหวาน ได้แก่ พฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียดที่ไม่เหมาะสม (กรมควบคุมโรค, 2555) ซึ่งโรคเบาหวานเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิต สามารถป้องกันได้ การรักษาภายหลังการเกิดโรคอย่างเดียว ไม่สามารถลดภาระผู้ป่วย ครอบครัว และสังคมในระยะยาวได้ ดังนั้นการป้องกันการเกิดโรคจึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไป
จากการร่วมกันจัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้านของประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน พบว่า ปัญหาจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น เป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขมากที่สุด เนื่องจากเมื่อป่วยด้วยโรคเบาหวานแล้วไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ก่อให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ส่งผลต่อเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว อีกทั้งโรคเบาหวานยังเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่น ๆ ในกลุ่มโรค NCDs อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคไต เป็นต้น
จากประเด็นปัญหาดังกล่าว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ดำเนินกิจกรรมกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน นำผลที่ได้ไปปรับใช้และพัฒนาในบริการหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานสามารถปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพ นำความรู้ ไปใช้เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน และเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัวและชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบล
เขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ นำความรู้ไปใช้เพื่อลด
ค่าระดับน้ำตาลในเลือด ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน
- ประชาชน หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง สามารถนำรูปแบบกิจกรรมเป็นแนวทางในการนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครอบครัว และชุมชนเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้างตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน การควบคุม และการป้องกันโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านลำช้าง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......