กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการสมุนไพรไล่ยุง ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิชญธิดา นุ้ยหนู

ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรไล่ยุง

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2983-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2566 ถึง 4 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรไล่ยุง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรไล่ยุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมุนไพรไล่ยุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2983-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2566 - 4 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันถ้าจะพูดถึงสัตว์ที่เป็นพาหนะนำโรค สัตว์อันดับต้น ๆ ที่เราคิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหนะนำโรคร้ายต่าง ๆ ที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก ยุงเป็นพาหนะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น โดยเฉพาะไข้เลือดออกที่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในแต่ละปี และประชากรในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 7 ตำบลปากล่อ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ติดกับที่ตั้งของโรงเรียนวัดธนาภิมุข หมู่ที่ 6 ตำบลปากล่อ เคยมีประวัติเยาวชนในพื้นที่บ้านโผงโผงนอก หมู่ที่ 7 ตำบลปากล่อ ได้เสียชีวิตจากการเป็นโรคไข้เลือดออก ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การดำเนินการเพื่อตัดวงจรการเกิดโรคที่มาจากยุง จึงมีผู้คิดหาตัวยาเพื่อกำจัดและป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ และในพื้นที่ตำบลปากล่อส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทำสวนยางพารา ทำนา ปลูกผัก ประกอบกับพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและทุ่งนา ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก เนื่องจากถูกยุงกัด นั้น
    ดังนั้น เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง และป้องกันอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนวัดธนาภิมุข จึงได้จัดทำโครงการสมุนไพรไล่ยุ่ง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ด้วยสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรตะไคร้หอมและเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อต่อยอดผลผลิตที่ได้จากการดำเนินโครงการครัวโรงเรียนสู่ครัวบ้านปลอดสารพิษ เนื่องจากโครงการดังกล่าวได้ดำเนินกิจกรรมการปลูกพืชสมุนไพรภายในโรงเรียน เช่น ตะไคร้หอม โหระพา มะนาว เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ไล่ยุงได้
  2. 2.เพื่อให้นักเรียนได้ความรู้วิธีการทำเทียนหอมและสเปรย์สมุนไพรไล่ยุง
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนนำสมุนไพรที่มีในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง(อ.3-ป.3)
  2. กิจกรรมเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง (ป.4-ป.6)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนโรงเรียนวัดธนาภิมุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ไล่ยุง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และนำความรู้ไปต่อยอดได้อีกในโอกาสต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ไล่ยุงได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความเข้าใจเรียนรู้ชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรไล่ยุง

 

2 2.เพื่อให้นักเรียนได้ความรู้วิธีการทำเทียนหอมและสเปรย์สมุนไพรไล่ยุง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้วิธีทำเทียนหอมและสเปรย์สมุนไพรไล่ยุง

 

3 3.เพื่อให้นักเรียนนำสมุนไพรที่มีในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 นำสมุนไพรที่มีในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ไล่ยุงได้ (2) 2.เพื่อให้นักเรียนได้ความรู้วิธีการทำเทียนหอมและสเปรย์สมุนไพรไล่ยุง (3) 3.เพื่อให้นักเรียนนำสมุนไพรที่มีในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง(อ.3-ป.3) (2) กิจกรรมเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง (ป.4-ป.6)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสมุนไพรไล่ยุง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2983-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิชญธิดา นุ้ยหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด