กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะมูลฝอย 1 ม.ค. 2023 14 ก.พ. 2023

 

  1. เขียนโครงการนำเสนอขออนุมัติ
  2. ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
  4. ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการฯ

- การอบรมให้ความรู้ในการคัดแยกขยะด้วยหลักการ 3Rs จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 125 คน          รวม 1,000 คน
- จัดกิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่ ต้านภัยโรคร้าย - จัดกิจกรรมถังขยะเปียก ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
5. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการฯ 6. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินโครงการฯ

 

  1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
  2. ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ด้วยตนเอง
  3. ประชาชนและชุมชนมีรายได้จากการจัดการขยะ
  4. ประชาชนได้นำปุ๋ยจากการทำถังขยะเปียกไปใช้ประโยชน์
  5. สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่ ประชาชนปลอดโรค

 

กิจกรรมลดขยะเปียก ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 1 ม.ค. 2023 7 มี.ค. 2023

 

  1. เขียนโครงการนำเสนอขออนุมัติ
  2. ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
  4. ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการฯ

- จัดกิจกรรมถังขยะเปียก ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
5. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการฯ 6. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินโครงการฯ

 

  1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
  2. ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ด้วยตนเอง
  3. ประชาชนและชุมชนมีรายได้จากการจัดการขยะ
  4. ประชาชนได้นำปุ๋ยจากการทำถังขยะเปียกไปใช้ประโยชน์
  5. สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่ ประชาชนปลอดโรค

 

กิจกรรมขยะอันตรายแลกไข้ ต้ายภัยโรคร้าย 1 ม.ค. 2023 21 ส.ค. 2023

 

  1. เขียนโครงการนำเสนอขออนุมัติ
  2. ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
  4. ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการฯ

- จัดกิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่ ต้านภัยโรคร้าย 5. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการฯ 6. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินโครงการฯ

 

  1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
  2. ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ด้วยตนเอง
  3. ประชาชนและชุมชนมีรายได้จากการจัดการขยะ
  4. ประชาชนได้นำปุ๋ยจากการทำถังขยะเปียกไปใช้ประโยชน์
  5. สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่ ประชาชนปลอดโรค