กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะมิงดอมิ๊

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 สิงหาคม 2561 ถึง 26 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2480-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 สิงหาคม 2561 - 26 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันมีปัญหาในสังคมเกิดขึ้นกับวัยรุ่นหลายด้่านด้วยกันปัญหาที่เป็นตัวอย่างในระดับประเทศ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการทำแท้ง ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาความรุนแรง (ข้อมูลจากมูลนิธิศูนย์พทักษ์เด็ก กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต และราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ แห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๓ ซึ่งจากผลการศึกษาสถานการณ์ ความรุนแรงของปัญหาทั่วประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๓ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและเยาวชนอายุประมาณ 10-18 ปี พบว่า ร้อยละ 68.6 มีการใช้พฤติกรรมรุนแรง เช่น ถูกเพื่อนรังแก การด่าทอ กลั่งแกล้ง แย่งชิงของ การข่มขู่ และการทำร้ายร่างกายเพื่อนเป็นต้น ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัย ทั้งด้านตัวเด็ก ปัยจัยพฤติกรรมและบุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกับการกระทำรุนแรงของครอบครัวของผู้กระทำ ปัจจัยด้านลักษณะเศรษฐกิจของครอบครัวและที่อยู่อาศัย ส่งผลกาารเกิดปัญหาหลายอย่างเช่น ปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาการปรับตัวเข้ากับสังคมทัศนคติเกี่ยวกับการซึ่งความรุนแรงนวัตกรรมเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ผลการวิจัยปัญหาในกลุ่มตัวอย่างเด็กวัยรุ่นอายุ 14-17 ปี พบว่ามีปัญหาที่พบมากเป็นส่วนมาก เช่น ปัญหาหารต่อต้านผู้ใหญ่ ปัญหาไม่ค่อยเชื่อฟังในสิ่งที่ผู้ปกครองบอกส่วนใหญ่จะเชื่อผังเพื่อนและไปตามเพื่อน ปัญหาด้านอารมณ์ ความรุนแรงของวัยรุ่น ปัญหาด้านการเรียน เที่ยวกลางคืน ปัญหาการมีรักในวัยเรียนของวัยรุ่น ปัญหาการติดยาเสพติด ปัญหาเหล่านี้ยังเป็นปัญหาของสังคมที่ยังแก้ไขไม่หาย และจำเป็นที่ต้องได้รับกาารแก้ไจากความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ"วัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" ขึ้นเพื่อให้วัยรุ่นได้ตระหนักถึงปัญหาในปัญหาในปัจจุบัน เช่น ปัญหาด้านการเรียน ปัญหาการติดยาเสพติด ปัญหาพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศและสามารถแสดงออกทางพฤติ่กรรมได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้วัยรุ่นได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวกับปัญหาและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม และให้วัยรุ่นไทยได้ตระหนักถึงปัญหาของสังคมมีอยู่ปัจจุบันได้ เป็นการส่งเสริมป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ และเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของวัยรุ่น และวิธีการจัดการกับปัญหาของวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมไม่ว่าจะเป็นปัญหาความเครียดด้านการเรียน ปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด ปัญหาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ เป็นต้น ปัญหาที่กล่าวข้างต้น เกิดจาากการขาดความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงงสภาพร่างกายซึ่งมีสาเหตุสำคัญจากปัญหาครอบครัว สภาพแวดล้อมใกล้ตัวที่ชักจูงไปในทางที่ดี และตัวอย่างการใช้ความรุนแรงในสังคม ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องให้การส่งเสริม ป้องกัน แนะนำแนวทางในการปฏิบัติเพราะเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน คืออนาคตของชาติถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาสังคมและทำให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 3.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
  2. 3.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
  3. 3.3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง
  4. 3.4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในกาารดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
  5. 3.5 เพือเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงร่างกาาย ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมรุนแรง ยาเสพติด ความเครียด ทักษะการใช้ชีวิต การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลดภัย เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น
  2. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศและสามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
  3. ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยงเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างเหมาะสม
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในกาารดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น

วันที่ 26 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมปรึกษาหารือ ผู้บริหาร สมาชิก ศูนย์เยาวชน และผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสารกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
  4. ดำเนินการจัดกิจกรรมประกอบ
  5. ประเมิน สรุปรายงานนและติดตามผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2.ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 3.ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 4.ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม 5.เป็นการส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงร่างกาย ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมรุนแรง ยาเสพติด ความเครียด ทักษะการใช้ชีวิต การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลดภัย เป็นต้น

 

80 0

2. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมปรึกษาหารือ ผู้บริหาร สมาชิก ศูนย์เยาวชน และผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสารกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
  4. ดำเนินการจัดกิจกรรมประกอบ
  5. ประเมิน สรุปรายงานนและติดตามผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2.ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 3.ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 4.ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม 5.เป็นการส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงร่างกาย ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมรุนแรง ยาเสพติด ความเครียด ทักษะการใช้ชีวิต การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลดภัย เป็นต้น

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 3.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
80.00

 

2 3.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
ตัวชี้วัด :
80.00

 

3 3.3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด :
80.00

 

4 3.4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในกาารดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
80.00

 

5 3.5 เพือเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงร่างกาาย ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมรุนแรง ยาเสพติด ความเครียด ทักษะการใช้ชีวิต การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลดภัย เป็นต้น
ตัวชี้วัด :
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 3.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น (2) 3.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติดด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ (3) 3.3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง (4) 3.4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในกาารดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม (5) 3.5 เพือเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันในกลุ่มเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงร่างกาาย ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมรุนแรง ยาเสพติด ความเครียด ทักษะการใช้ชีวิต การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลดภัย เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น (2) อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของวัยรุ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะมิงดอมิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด