กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L6895-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันวิถีชีวิตของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงไป มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้มีการเคลื่อนไหวออกแรงกายลดลง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง การออกกำลังกายและการเล่นกีฬามีประโยนชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเรื้อรังเหล่านี้กำลังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในภาพรวมของระดับประเทศ ดังที่จะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นด้วย โดยเฉพาะปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งการออกกำลังกายเสมือนเป็นยาวิเศษ ที่ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายเกิดความสมบูรณ์แข็งแรง เป็นเกราะป้องกันโรคภัยความเจ็บป่วยได้อย่างดี แต่ทั้งนี้การออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม ผู้ออกกำลังกายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ถูกต้องในการกำหนดรูปแบบ วิธีการ และระยะเวลาในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามสภาพของแต่ละบุคคล ดังนั้นสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรงเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา การดูแลส่งเสริมสุขภาพจะต้องดูแลและส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การออกกำลังกายเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยในการพัฒนาเสริมสร้างความแข็งแรง และจิตใจของคนเราแข็งแรง ความอดทนของกล้ามเนื้อได้มากมายหลากหลายรูปแบบ ช่วยในการบำบัดรักษาฟื้นฟูเสริมสร้างสุขภาพ และสมรรถภาพทางกายรวมทั้งช่วยลดไขมันในร่างกาย ทำให้กล้ามเนื้อตึง ช่วยให้พัฒนาการรับรู้ของระบบประสาทส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่งผลให้ผู้ออกกำลังกายเกิดความมั่นใจในรูปร่างและความสัมพันธ์ในการเคลื่อนไหว ที่สำคัญประชาชนสามารถทำได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และยังทำได้ทุกเพศทุกวัย เป็นการส่งเสริมสุขภาพง่ายๆ ได้ด้วยตนเอง การดูแลสุขภาพจะเป็นรูปธรรมได้นั้น ทุกคนจะต้องได้รับการปลูกฝัง ให้มีพื้นฐานจิตสำนึก ความคิด และการปฏิบัติของทุกคนในชุมชน เพื่อการช่วยเหลือดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชน มีร่างกายแข็งแรง และสุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างปกติ และมีความสุขอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ห่างไกลจากโรค จึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ การออกกำลังกายที่เหมาะสม อีกทั้งยังทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของตนเอง โดยการออกกำลังกายด้วยรำวงย้อนยุค ได้อย่างถูกต้อง ถูกวิธี และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง, ติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถฝึกการทรงตัวและสร้างสมรรถภาพทางกายและจิตใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถทรงตัวและเคลื่อนไวได้ดีขึ้น ดูแลตนเองได้
  2. ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุก่อนการออกกำลังกายโดยการชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย  ค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง  ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง  จำนวน  50  คน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน 08.45 - 09.00 น. พิธีเปิด 09.00 - 10.50 น. บรรยายเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤ๖ิกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม 10.50 - 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง 11.00 - 12.00 น. บรรยายเรื่อง หลักการและประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบรำไทยเพื่อสุขภาพ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง ออกกำลังกายแบบรำงย้อนยุค 16.00 - 16.30 น. ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้/ประเมินความพึงพอใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง  จำนวน  50  คน  เมื่อวันที่  19  กรกฎาคม  2566  ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  ลดหวาน..มัน..เค็ม  หลักการและประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบรำไทยเพื่อสุขภาพ พร้อมฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุคโดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและครูนาฏศิลป์จากโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษีมาให้ความรู้ดังกล่าว  พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม 3. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน 50 คน  มีผู้เข้ารับการอบรมตอบกลับแบบประเมิน จำนวน  50  คน ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  85  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.25  ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
3.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.02 คิดเป็นร้อยละ 80.4
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.30  คิดเป็นร้อยละ 86 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย  4.50  คิดเป็นร้อยละ  90 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย  3.26  คิดเป็นร้อยละ  65.2 3.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.07  คิดเป็นร้อยละ  81.4
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.52 คิดเป็นร้อยละ  90.4 - สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.34  คิดเป็นร้อยละ  86.8 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย  3.36  คิดเป็นร้อยละ  67.2 3.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.27  คิดเป็นร้อยละ 85.4 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.2 3.4 ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 คิดเป็นร้อยละ 86.8 3.5 ควรจัดรงการนี้ในปีถัดไป  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.54 คิดเป็นร้อยละ 90.8

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุก่อนการออกกำลังกายโดยการชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย ค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 50 คน
    1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง จำนวน 50 คน เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน..มัน..เค็ม หลักการและประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบรำไทยเพื่อสุขภาพ พร้อมฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุคโดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและครูนาฏศิลป์จากโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษีมาให้ความรู้ดังกล่าว พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน มีผู้เข้ารับการอบรมตอบกลับแบบประเมิน จำนวน 50 คน ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    3.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.02 คิดเป็นร้อยละ 80.4

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.26 คิดเป็นร้อยละ 65.2 3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.07 คิดเป็นร้อยละ 81.4
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4 - สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 คิดเป็นร้อยละ 86.8 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.36 คิดเป็นร้อยละ 67.2 3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.27 คิดเป็นร้อยละ 85.4 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.2 3.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 คิดเป็นร้อยละ 86.8 3.5 ควรจัดรงการนี้ในปีถัดไป มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.54 คิดเป็นร้อยละ 90.8 4. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งสลับกับกิจกรรมทางกายแบบอื่นๆ และประเมินสุขภาพ ซึ่งได้จัดกิจกรรมจำนวน 12 ครั้ง
5. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ 85 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก (ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในโครงการอยู่ในระดับมาก) 6. สรุปค่าใช้จ่ายตามโครงการ จำนวน 15,475 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น - ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล 1 เครื่อง เป็นเงิน    800 บาท - ค่าจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล 1 เครื่อง เป็นเงิน  2,900 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ เป็นเงิน    20 บาท กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
- ค่าสมนาคุณวิทยากร  เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน    375 บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน  3,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  3,000 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน    250 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  1,030 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง, ติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถฝึกการทรงตัวและสร้างสมรรถภาพทางกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและไม่เรื้อรัง, ติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถฝึกการทรงตัวและสร้างสมรรถภาพทางกายและจิตใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายแบบรำวงย้อนยุค ปี 2566 “ผ่อนคลายใจ “ รำวงย้อนยุค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด