กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะมูลฝอยภายในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด
รหัสโครงการ 61-L2480-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมการศึกษาอิสลามประจำมัสยิดตำบลมะรือโบออก
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 1 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 20,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลมาน๊ะหะยีหะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางปารีด๊ะ แก้วกรด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.249,101.875place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 19 มี.ค. 2561 19 มี.ค. 2561 20,650.00
รวมงบประมาณ 20,650.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ขยะเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลกระทบและเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชน เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดูสกปรก น่ารังเกียจ ขยะยังทำให้น้ำเสียและสิ่งแวดล้อมเป็นพิษสารพัดโรคร้ายจากขยะ คนนสังคมไทยรู้ว่ายะที่ทิ้งก่อให้เกิดโรค อันตรายที่เกิดขึ้นจากขยะเหล่านี้สามารถเข้าสู้ร่างกายได้ 3 ทาง ได้แก่ ทางผิวหนัง ทางการหายใจ และทางเดินอาหาร โดยโรคภัยที่มาจากขยะ 4 อันดับแรก ได้แก่ ท้องร่วงท้องเสีย โรคภูมิแพ้ คลื่่นไส้อาเจียนและปวดศรีษะ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ขยะมูลฝอย หมายถึงเศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์และซากสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากพื้นถนนหนทางตลาดหรือที่เลี้งสัตว์ สิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชนไม่ต้องการถูกทิ้งโดยไม่มีการกำจัดถูกวิธี สิ่งของที่ทิ้งไปหากมีคนนำมาใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นยัวไม่ใช้ขยะ ดังนั้น การสร้างความรู้มีแนวคิดเห็นถึงคุณค่าจากขยะ ขยะเป็นทรัพยากรที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้โดยอาศัยภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในกาแก้ไขขยะ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย

 

75.00
2 2. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามเห็นความสำคัญในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถลดปริมาณขยะการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

 

75.00
3 3. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการขยะ

 

75.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามเห็นความสำคัญในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถลดปริมาณขยะการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการขยะ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

22 มี.ค. 61 อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและผลกระทบของขยะต่อสังคม ชุมชนและสภาวะสิ่งแวดล้อม 20,650.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชุมปรึกษาหารือคณะกรรมการชมรมการศึกษาอิสลามและผู้เกี่ยวข้อง
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  3. ประสานกลุ่มเป้ามายและผู้เกี่ยวข้อง
  4. จัดทำเอกสารประกอบกาารอบรม
  5. ดำเนินกิจกรรม ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและผลกระทบของขยะต่อสังคม ชุมชนและสภาวะสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 2 อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและผลกระทบของขยะต่อสุขภาพของตนเองและครอบครัว กิจกรรมที่ 3 สาธิตการจัดการขยะโดยใช้หลัก 3Rs (กิจกรรมกาารลด การใช้ซ้ำและการคัดแยกนำกลับมาใช้ใหม่) กิจกรรมที่ 4 การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการขยะมูลฝอย
  6. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย 2.ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามเห็นความสำคัญในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถลดปริมาณขยะการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ 3.ผู้บริหาร ผู้สอนการศึกษาอิสลามนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการขยะ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2560 11:51 น.