กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยแก่พ่อแมผู้ปกครอง และครูผู้ดุแลเด็ก
รหัสโครงการ 61-L2480-3-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมูฮำมาดียะห์ ปาเร๊ะรูโบ๊ะ
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 สิงหาคม 2561 - 6 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 13,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลนาเซ ปาเน๊าะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางปารีดะ แก้วกรด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.249,101.875place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 19 มี.ค. 2561 19 มี.ค. 2561 13,250.00
รวมงบประมาณ 13,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัยหรือเด็กวัยตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี เป็นช่วงอายุที่มีอัตราของการพัฒนาการสูง ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดีและถูกต้องตามหลักจิตวิทยา และหลักวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เด็กก็จะพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ ซึ่งงานวิจัยต่างๆ และทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ได้ระบุว่าช่วงเวลาที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในการพัฒนาสมองคือช่วง 5 ปีแรกของชีวิต เด็กที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูและพัฒนาอย่างถูกต้องในช่วงเวลานี้เมื่อพ้นวัยนี้แล้ว โอกาสทองเช่นนี้จะไม่หนกลับมาอีก ดังนั้น ครอบครัว พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ผู้เลี้ยงดูเด็กต้องมี ความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็กในช่วงวัย 0 – 5 ปี ต้องสามารถเลี้ยงดู จัดประสบการณ์พัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาได้เต็มศักยภาพ การพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ช่วงปฐมวัยและต่อเนื่องตลอดชีวิต หลักวิชาและการวิจัยได้แสดงว่าปัจจัยแวดล้อมและการเลี้ยงดูที่เหมาะสม สามารถเปลี่ยนโครงสร้างและประสิทธิภาพการทำงานของสมองมนุษย์ได้ เวลาทีสำคัญและจำเป็นที่สุดในการพัฒนาสมองคือในช่วง 5 ปี แรกของชีวิต การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืน และป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว จำเป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปฐมวัย โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักและชุมชนเป็นฐานที่มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาทักษะ การเลี้ยงดูเด็ก ร้อยละ 80

40.00
2 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานแก่เด็กปฐมวัยให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก
  • ผู้ปกครองได้รับความรู้ เกี่ยวกับการป้องกัน และการควบคุมโรค ร้อยละ 80
40.00
3 3 ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และสามารถดูแลเด็กเบื้องต้นได้ถูกวิธี

ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ในการเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี และการดูแลสุขภาพของการฉีดวัคซีน ร้อยละ 80

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,250.00 1 13,250.00
1 - 31 พ.ค. 61 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับพัฒนาทักษะการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย/ให้ความรู้เกี่ยวกับการปกกันและควบคุมโรคทั่วไป 0 13,250.00 13,250.00
  1. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ
  2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ดูแลเด็ก
  3. ทำหนังสือเชิญวิทยากร
  4. ทำหนังสือเชิญพ่อแม่ ผู้ปกครอง
  5. ดำเนินการตามโครงการ 5.1อบรมให้ความรู้ผู้ปกรองเกี่ยวกับพัฒนาทักษะการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย 5.2อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคทั่วไป 5.3ให้ความรู้เสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของการฉีกวัคซีน และการดูแลหลังจากการได้รับวัคซีน
  6. ประเมิน/สรุปผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญ มีความรู้ความเข้าใจ และนำทักษะกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพของเด็กปฐมวัย
  2. ระดับพัฒนาการของสมอง และศักยภาพของเด็กปฐมวัยสูงขึ้น และเพิ่มขีดความสามารถด้านการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ อย่างชัดเจน
  3. เด็กปฐมวัยได้รับการคุ้มครอง และส่งเสริมให้มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี และอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงต่างๆ ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ โดยมีความพร้อมที่จะดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2560 11:59 น.