กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L2475-2-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำบ้าน หมู่ 7 ตำบลช้างเผือก
วันที่อนุมัติ 21 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มกราคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กรกฎาคม 2566
งบประมาณ 13,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัสมิง มะแซ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.997,101.573place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมาลาเรียยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และยังคงเป็นโรคที่เป็นปัญหาใน พื้นที่ตามบริเวณชายแดนไทย-พม่า-กัมพูชา และชายแดนไทย-มาเลเซีย ในระยะเวลา ๕ ปีที่ผ่านมา จำนวนผู้ป่วย มาลาเรียโดยรวมมีจำนวนลดลง อันเป็นผลจากการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการควบคุมโรคมาลาเรียในพื้นที่ การแพร่กระจายโรคมาลาเรียใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยยังคงรุนแรง และความพยายามในการควบคุมโรค ถูกขัดขวางด้วยปัญหาความขัดแย้งรุนแรงในบริเวณดังกล่าว ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๔ กรมควบคุมโรค ได้ดำเนินงานโครงการยับยั้งการแพร่เชื้อมาลาเรีย ทน ต่อยาอนุพันธุ์อาร์ติมิซินิน ภายใต้โครงการกองทุนโลกด้านมาลาเรีย จากผลการดำเนินงานพบว่าสามารถลดจำนวน และลดการแพร่กระจายของโรคมาลารียชื้อฟัลซิปารัมด้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยยารักษามาลา ผสมอาร์ติมิซินิน (ACT) คือ ยาผสมระหว่างอาร์ติซูเนท(artesunate) และเมฟโฟลควิน (mefloquine) หรือ artemisinin-based combination therapies (ACTS) จากผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียของตำบลข้างเผือก ตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ พบ ผู้ป่วยจำนวน ๕, ๓, และ ๒ ราย อัตราป่วย ๒.๕0, ๒.๓๓ และ ๒.๑ ๖ ต่อพันประซากรตามลำดับ จากการ ดำเนินงานในระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมา พบว่าอัตราปวยด้วยโรคมาลาเรียมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีการตั้งมาลาเรีย คลินิกชุมชนครอบคลุมพื้นที่แพร่เชื้อA ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการตรวจและรักษามาลาเรียโดยเร็ว ทั้งนี้ ในช่วงต้นปี ๒๕๖๕ พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่ได้ดำเนินงาน โครงการกองทุนโลกด้านมาลาเรีย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อนำไปสู่การกำจัดเชื้อมาลาเรียที่ทนต่อยากลุ่มอนุพันธ์อาร์ติมิชินิน ด้วยการค้นหาผู้ป่วย มาลาเรีย(ทั้งที่แสดงและไม่แสดงอาการ ในพื้นที่เป้าหมายและรับการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นในการขจัดแหล่งเชื้อดื้อยาโดยใช้การรักษาแบบผสมผสาน

 

2 2. เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย โดยการควบคุมยุงพาหะและเพิ่มการป้องกันตนเอง ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย

 

3 3. เพื่อสนับสนุนการยับยั้งเชื้อมาลาเรียฟัลซิพารัม ผ่านการสื่อสารเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม (BCC) การขับเคลื่อนชุมชน (Community mobilization) และสร้างความตระหนักโดยให้ความรู้แก่ ประชาชน (Advocacy)

 

4 4. เพื่อดำเนินงานการบริหารจัดการร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และระบบการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับองค์การเครือข่ายเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงและรวดเร็ว

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 70 13,650.00 0 0.00
2 ม.ค. 66 - 30 มิ.ย. 66 อบรมกลุ่มบ้านในพื้นที่เป้าหมายและประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เรื่องความรู้โรคมาลาเรีย 70 13,650.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการตรวจและรักษาโรคมาลาเรียด้วยสูตรยาที่มีประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการควบคุมโรคมาลาเรียในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2565 10:27 น.