กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายชาร์ฟัรฮัม ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-02-23 เลขที่ข้อตกลง 23/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-02-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ประเทศไทยพบว่ามีเด็กและเยาวชนจำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจและเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูและการหลอกลวงเป็นต้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วนให้ร่วมคิดร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติดและที่ผ่านมาการปราบปรามหรือเพิ่มโทษไม่ได้ทำให้ปัญหายาเสพติดหมดไป เพราะจากการสำรวจจำนวนผู้เสพยาเสพติดในประเทศไทยกลับมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นั่นแสดงว่าการปราบปรามอย่างเดียวไม่เพียงพอจำเป็นต้องมีนโยบายด้านอื่นมาสนับสนุนด้วยการดึงพลังของทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมกันทำงานแบบบูรณาการก็เป็นอีกวิธีทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้เป็นอย่างดี สภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการแวรุ่น หัวใจสีขาว ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน และพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด
  2. เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  4. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน
  5. เพื่อเป็นการฝึกทักษะการอยู่ร่วมกันให้กับเด็กและเยาวชน
  6. เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและเยาวชนในชุมชน
  7. เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดกิจกรรม
  2. อบรมโทษของยาเสพติดและกฎหมาย
  3. กิจกรรมปั้นดินในเป็นดาว
  4. กิจกรรมเยาวชนที่ดีต้องมีเกราะป้องกันยาเสพติด
  5. กิจกรรมฐานสร้างทักษะและห่างไกลสารเสพติด
  6. กิจกรรม CYC The star Anti Drugs
  7. กิจกรรมออกกำลังกาย เพิ่มกำลังใจ
  8. กิจกรรมเสริมทักษะชีวิตของวัยรุ่น
  9. กิจกรรมสารที่ได้รับจากค่าย
  10. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสรุป และถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนที่เข้าอบรม มีควารู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
  2. เด็กและเยาวชนรู้จักการป้องกันการแพร่กระจายของสารเสพติด สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
  3. เด็กและเยาวชนมีการพัฒนาให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมให้มีความพร้อมทางด้านรางกายและจิตใจ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดกิจกรรม

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 20:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการจัดโครงการ

 

0 0

2. อบรมโทษของยาเสพติดและกฎหมาย

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดและกฏหมายแก่เด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้รับรู้ถึงโทษของยาเสพและกฏหมาย

 

0 0

3. กิจกรรมปั้นดินในเป็นดาว

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 19:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เด็กและเยาวชนร่วมกันระดมความคิดและโต้ตอบว่าในแต่ละช่วงวัยเกิดปัญหาอย่างไรที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
พร้อมด้วยวิธีการป้องกันและหลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้รู้ถึงปัญหายาเสพติดในแต่ละช่วงวัยและได้รู้ถึงโทษของยาเสพติดที่เกิดขึ้นต่อร่างกาย เด็กและเยาวชนได้รู้ถึงวิธีการป้องกันและหลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

 

0 0

4. กิจกรรม CYC The star Anti Drugs

วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 เวลา 19:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัดชุดรีไซเคิลเพื่อใช้เดินรณรงค์ต้านยาเสพติด
พร้อมด้วยตอบคำถามปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นภายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้เป็นกระบอกเสียงในการต่อต้านยาเสพติดผ่านทางชุดที่เด็กและเยาวชนได้ออกแบบและทำขึ้นมา
เด็กและเยาวชนได้สะท้อนปัญหายาเสพติดที่เกิดในชุมชน และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการป้องกันและแก้ปัญหา

 

0 0

5. กิจกรรมเยาวชนที่ดีต้องมีเกราะป้องกันยาเสพติด

วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้วิธีการป้องกันจากยาเสพติด และหลีกเลี่ยงจากภัยยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้รับรู้ถึงโทษของยาเสพติด เด็กและเยาวชนได้มีวิธีการหลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

 

0 0

6. กิจกรรมฐานสร้างทักษะและห่างไกลสารเสพติด

วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งเป็น 5 ฐาน ฐานที่1 เป็นการฝึกให้เด็กและเยาวชนมีวิธีการหลีกเลี่ยงจากภัยยาเสพติด ฐานที่2 เป็นการฝึกให้เด็กและเยาวชนมีความสามัคคีในการบอกแนวทางภัยยาเสพติด ฐานที่3 เป็นการฝึกให้เด็กและเยาวชนเป็นหูเป็นตาในการสอดส่องดูแลจากภัยยาเสพติด ฐานที่4 เป็นการฝึกให้เด็กและเยาวชนรู้วิธีการปฏิเสธจากการชักชวน ฐานที่5 เป็นการฝึกให้เด็กและเยาวชนมีความพยายามในการหาแนวทางที่ดีและห่างไกลภัยยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ของแต่ละฐานเพื่อนำไปใช้ในอนาคต

 

0 0

7. กิจกรรมออกกำลังกาย เพิ่มกำลังใจ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกกำลังกายยามเช้า ด้วยกระบวนท่าต่างๆมากมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพิ่มกำลังกายและกำลังใจ สุขภาพดี สดชื่น และร่างกายแข็งแรง

 

0 0

8. กิจกรรมสารที่ได้รับจากค่าย

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระดมความคิดของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยการนำเสนอเป็นรายกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สะท้อนถึงความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

0 0

9. กิจกรรมเสริมทักษะชีวิตของวัยรุ่น

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการป้องกันการแพร่กระจายของสารเสพติดแก่เด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนได้รู้จักทักษะการป้องกันการแพร่กระจายของสารเสพติดและสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

 

0 0

10. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสรุป และถอดบทเรียน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมคณะทำงานโครงการฯ เพื่อสรุปถอดบทเรียน จากการจัดโครงการแวรุ่น หัวใจสีขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้ถึงปัญหาในการจัดโครงการฯ เพื่อปรับแก้ในโครงการต่อๆไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนในชุมชนที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด (ดื่มสุรา สูบบุหรี่ เที่ยวกลางคืน รวมกลุ่มมั่วสุม ติดเกมส์)
40.00 20.00

 

2 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
40.00 20.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
20.00 10.00

 

4 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
20.00 15.00

 

5 เพื่อเป็นการฝึกทักษะการอยู่ร่วมกันให้กับเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนได้รู้ถึงทักษะในการอยู่ร่วมกัน
20.00 10.00

 

6 เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและเยาวชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนรู้จักการป้องกันการแพร่กระจายของสารเสพติดสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
20.00 10.00

 

7 เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีคุณภาพและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
40.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติด (2) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ลง (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (4) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน (5) เพื่อเป็นการฝึกทักษะการอยู่ร่วมกันให้กับเด็กและเยาวชน (6) เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและเยาวชนในชุมชน (7) เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดกิจกรรม (2) อบรมโทษของยาเสพติดและกฎหมาย (3) กิจกรรมปั้นดินในเป็นดาว (4) กิจกรรมเยาวชนที่ดีต้องมีเกราะป้องกันยาเสพติด (5) กิจกรรมฐานสร้างทักษะและห่างไกลสารเสพติด (6) กิจกรรม CYC The star Anti Drugs (7) กิจกรรมออกกำลังกาย เพิ่มกำลังใจ (8) กิจกรรมเสริมทักษะชีวิตของวัยรุ่น (9) กิจกรรมสารที่ได้รับจากค่าย (10) จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสรุป และถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแวรุ่นหัวใจสีขาว จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-02-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาร์ฟัรฮัม ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด