กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖ ”



หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา อับดุลเลาะห์

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-1-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8302-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 17.2 ของประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก สถานการณ์ดังกล่าวจึงจำเป็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องให้ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ผู้สูงอายุจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้นำมาเป็นผู้ตามทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกตนเองมีคุณค่าลดลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายทำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคข้อเสื่อม ภาวะกระดูกพรุน หรือมีอาการหลงลืม ความจำเสื่อม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสถานะทางสังคม การเปลี่ยนแปลงสังคมสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ส่งผลทำให้ผู้สูงอายุปรับสภาพจิตใจไม่ทัน มีภาวะเครียด ซึมเศร้า และรู้สึกว่าตัวเองด้อยค่า เป็นภาระของครอบครัวและสังคม การ

ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับตัวผู้สูงอายุเองและสมาชิกในครอบครัว
      การแพทย์แผนไทยเป็นการแพทย์ที่ใช้ การดูแล รักษาแบบองค์รวมทั้งการดูแลด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและเน้นพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดการเจ็บป่วย โดยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ได้มีการนำและปรับประยุกต์ใช้ หลักธรรมานามัย ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นแนวทางการดูแลสุขภาพให้ใกล้ชิดธรรมชาติประกอบด้วย กายานามัย หรือ Healthy body เป็นการส่งเสริมสุขภาพทางกายด้วยการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆ เช่น การวิ่ง การว่ายน้ำ การเดิน เป็นต้น นอกจากนั้นการรับประทานอาหารที่ดีและการพักผ่อนอย่างเพียงพอจัดอยู่ในการส่งเสริมสุขภาพทางกายด้วย สำหรับแพทย์แผนไทยมีวิธีส่งเสริมสุขภาพโดยกายบริหารด้วยท่าฤาษีดัดตน ก้าวตา-ก้าวเต้น การนวดไทย และการรับประทานอาหารตามธาตุ เป็นต้น จิตตานามัย หรือ Healthy mind เป็นการส่งเสริมสุขภาพทางใจด้วยการปฏิบัติสมาธิ การพูดดี คิดดี ทำดี ตระหนักรู้และมีสติในทุกการกระทำ การปฏิบัติเพื่อฝึกจิตให้มั่นคงเพื่อมีจิตใจที่สงบและป้องกันการเกิดภาวพซึมเศร้า เป็นต้น ชีวิตานามัย หรือ Healthy behavior เป็นการดำเนินชีวิตโดยยึดหลักอนามัย มีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตประจำวันที่ดี การอยู่ในสถานที่ที่สะอาด ใกล้ชิดธรรมชาติ ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ รวมถึงการห่างไกลจากอบายมุขต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าหลักธรรมานามัยเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีไม่เป็นภาระให้แก่ครอบครัวและสังคม นอกเหนือจากนี้ยังสามารถช่วยเหลือตนเองได้อีกด้วย         จากปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล เห็นถึงความสำคัญของการดูแล ใส่ใจผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น ดังนั้น ทางรพ.สต.บ้านสะโล จึงมีแนวคิดที่ร่วมกันใส่ใจ แก้ปัญหาในข้างต้นให้ได้ครบถ้วนทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตต่อไป จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นและขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงวัยและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมใส่ใจ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย
  2. ป้ายโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงวัยมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเบื้องต้น และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดูแลในผู้สูงอายุตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยโดยใช้หลักธรรมานามัยไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๒. ผู้สูงวัยมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านที่ถูกต้อง ๓. ผู้สูงวัยและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำเจลสมุนไพรบรรเทาอาการปวดได้ตนเอง
๔. ผู้สูงวัยสามารถนำความรู้ที่ไปประยุกต์ใช้ได้และสามารถบอกถ่ายทอดความรู้ให้แก่คนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ๕. การรักษาโดยการแพทย์แผนไทยเป็นที่ยอมรับในชุมชนมากขึ้น ๖. ผู้สูงวัยมีสุขภาพดีโดยใช้หลักธรรมานามัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้ายโครงการ

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ผืน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมใส่ใจ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย

วันที่ 30 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

***ขอขยายเวลา
มาดำเนินการ เดือนสิงหาคม **กิจกรรมอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีความรู้ ความเ ข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนทยในเบื้องต้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงวัยและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
30.00 60.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงวัยและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเบื้องต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมใส่ใจ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย (2) ป้ายโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใส่ใจ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยวิถีการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๖ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสา อับดุลเลาะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด