กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพง
รหัสโครงการ 66-50110-02-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านท่าพง
วันที่อนุมัติ 22 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 22,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววรินดา จาปัง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวรรณาพร บัวสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.872,101.43place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 41 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 92 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ
70.00
2 ร้อยละของผู้ปกครองนักเรียนที่ไม่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กวัยเรียน
70.00
3 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
60.00
4 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
60.00
5 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน
50.00
6 ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง อ้วนอันตราย
50.00
7 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ
60.00
8 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2
50.00
9 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being)ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม สติปัญญา และมิติของคน ครอบครัวและสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากเด็กปฐมวัยเรียน อายุ 3-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและเป็นวัยแห่งการเรียนรู้การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีถือเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต ถ้านักเรียนมีสุขภาพดีจะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี การที่ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ มีทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง จะส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเป็นสุข การส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้แก่นักเรียน เป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในโรงเรียน เพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพกายและจิตที่ดีนั้นเป็นสิทธิข้างต้นของนักเรียนที่สมควรได้รับ เพื่อส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีทั้งต่อตนเองและผู้อื่นต่อไป
ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านท่าพงเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงขึ้นเพื่อร่วมมือกันส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีให้แก่นักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ มีการปลูกฝังสุขนิสัยเพื่อปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดปริมาณนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ

นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงมีสุขภาพกายที่ดีขึ้น

70.00 30.00
2 ลดปริมาณผู้ปกครองนักเรียนที่ไม่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กวัยเรียน

ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้และให้ความร่วมมือในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน

70.00 30.00
3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

60.00 70.00
4 เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

60.00 70.00
5 ลดภาวะอ้วน ของเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

50.00 60.00
6 ลดจำนวนคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (ประจำคือมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ

60.00 70.00
7 ลดภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง อ้วนอันตรายของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี)

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง อ้วนอันตราย

50.00 70.00
8 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 22,150.00 3 22,150.00
16 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และสื่อการสอน 0 6,900.00 15,250.00
2 มิ.ย. 66 กิจกรรมอบรมการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาลแก่ผู้ปกครองและนักเรียน 0 15,250.00 6,900.00
5 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมการติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของนักเรียนและผู้ปกครอง 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
  2. นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพ
  3. ผู้ปกครองนักเรียนให้ความร่วมมือในการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงเป็นอย่างดี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2565 09:04 น.