กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางยาวิระ หลังปูเต๊ะ

ชื่อโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-2-06 เลขที่ข้อตกลง 05/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5287-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,724.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรงเรียนอนุบาลท่าแพ มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 395 คน ครูและบุคลากร จำนวน 26 คน ส่งผลให้ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากิจกรรมในด้านต่างๆ ของบุคลกรและนักเรียนเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดตั้งภาชนะถังขยะให้นักเรียนและบุคลากร ในการทิ้งขยะภายในโรงเรียนทั้งที่ไม่มีการคัดแยกประเภทขยะที่ชัดเจนแต่อย่างใด ทำให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดมีมากขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวอาจทำให้ส่งผลกระทบต่อการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในอนาคตได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับนักเรียน ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ซึ่งในการจัดทำโครงการคัดแยกขยะ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพและมีสภาพแวดล้อมที่ดีต่อไปเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศต้องเร่งดำเนินการป้องกันแก้ไข เนื่องจากขยะมูลฝอยทั้งจากครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันในโรงเรียนมีปัญหาขยะเกิดขึ้นทุกวันทำให้มีปริมาณขยะตกค้างในแต่ละวันจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชุมชนขนาดใหญ่ มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น และโรงเรียน ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงนำโรคหลายชนิด อีกทั้งยังก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น เหตุรำคาญ บ้านเมืองสกปรก ขาดความสวยงาม
  โรงเรียนอนุบาลท่าแพ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะและนำหลัก 3 Rs คือ REDUCE (การลดการใช้) REUSE (การใช้ซ้ำ) และ RECYCLE (การนำมาแปรรูปใหม่) มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ก็จะสามารถช่วยลดปริมาณขยะได้วิธีการดังกล่าวจะเป็นทางออกที่ดีในสภาวะปัจจุบันที่สามารถกำจัดขยะได้อย่างครบวงจร และยังได้รับผลประโยชน์จากการกำจัดขยะอีกมากมาย อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากกระบวนการำกจัดและผลิต การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่ชุมชน การสร้างรายได้เสริม การสร้างความสามัคคี และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้แก่เยาวชน
  ดังนั้นเพื่อให้การขัดเคลื่อนและสนับสนุนนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน เป็นไปตามนโยบายของภาครัฐ และเกิดประโยชน์สูงสุดแกสถานศึกษา ทางโรงเรียนอนุบาลท่าแพ จึงได้ตัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะเพื่อจะได้บริหารจัดการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุคภาคส่วน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3 Rs ในการจัดการขยะ
  2. 2. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากร มีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดทำบอร์ดและป้ายไวนิลให้ความรู้
  2. กิจกรรมการคัดแยกขยะ
  3. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา สามารถคัดแยกขยะ นำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่และปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
  2. ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
  3. ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  4. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการโรงเรียนปลอดขยะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  5. สภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน สะอาดน่าอยู่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3 Rs ในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ และมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม
80.00

 

2 2. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากร มีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู และบุคลากร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในกิจกรรมการคัดแยกขยะ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3 Rs ในการจัดการขยะ (2) 2. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากร มีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดทำบอร์ดและป้ายไวนิลให้ความรู้ (2) กิจกรรมการคัดแยกขยะ (3) กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนปลอดขยะ ปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลท่าแพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยาวิระ หลังปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด