กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตุยง ประจำปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3065-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 88,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ แวอูเซ็ง แวสาและ
พี่เลี้ยงโครงการ แวอูเซ็ง แวสาและ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตุยง
ละติจูด-ลองจิจูด 6.81832,101.167677place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดำเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตุยง จะประสบความส าเร็จได้ต้องได้มีการบริหารจัดการที่เกิด จากความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของทุกฝ่ าย เพื่อบริหารจัดการให้กองทุนฯให้บรรลุวัตถุประสงค์ ส่งผลให้ประชาชนมี สุขภาพที่ดีท้งัร่างกายและจิตใจเขา้ถึงการบริการดา้นสุขภาพไดร้ับบริการที่มีประสิทธิภาพ การพฒั นาสุขภาพของคนใน ชุมชนต่อไป ในการน้ีกองทุนหลกัประกนั สุขภาพองคก์ ารบริหารส่วนตา บลตุยงไดจ้ดัทา “โครงการพฒั นาระบบบริหารจดัการกองทุน หลักประกันสุขภาพ อบต.ตุยง ประจ าปี งบประมาณ 2565”ข้ึน เพื่อให้คณะกรรมการบริหารและอนุกรรมการไดร้่วมกนั ขับเคลื่อนบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบลตุยง
อยา่ งมีประสิทธิภาพและให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆสามารถเขา้ถึงบริการสาธารณสุขท้งัที่บา้น ชุมชน หรือหน่วย บริการไดอ้ยา่ งทวั่ ถึงและประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ แก่ผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
  1. กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
  2. กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน มี.ค. 2566 จำนวนร้อยละ 60 และภายใน เดือน ก.ค.2566 ร้อยละ 90
90.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

1.โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนได้รับการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จภายในระยะเวลา รัอยละ 90

90.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน และองค์กรผู้รับทุน
  1. มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพอย่างน้อย 5 คน
5.00
4 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการอย่างน้อย 5 กลุ่ม

3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 88,000.00 4 47,275.00
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 งบดำเนินงานอื่นๆ 0 14,900.00 4,000.00
30 ธ.ค. 65 - 28 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ตัวแทนอนุกรรมการ และผู้เข้าร่วมอื่น 0 50,050.00 33,425.00
4 ม.ค. 66 - 20 ก.ค. 66 กิจกรรมที่ 2 ประชุมเอนุกรรมการต่างๆ จำนวน 2 ครั้งต่อปี (6 เดือน/ครั้ง)- คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 11 คน - คณะอนุกรรมการ ด้านการพิจารณากลั่นกรองร่างแผน/โครงการ/ระเบียบกองทุนฯ จำนวน 6 คน - คณะอนุกรรมกา 0 19,150.00 5,950.00
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมพัฒนาศักยภาพองค์กรประชาชน/หน่วยงานราชการ/หน่วยงานเอกชนที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 0 3,900.00 3,900.00

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ แก่ผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ - จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อบต.ตุยงอย่างน้อย จำนวน 4 ครั้ง/ปี - จัดประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ อบต.ตุยงอย่างน้อย จำนวน 2 ครั้ง/ปี - สนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนฯอนุมัติ 2. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่หรือองค์กรที่ขอรับทุน เช่น กิจกรรมดูงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยน กิจกรรมจัดทำแผนสุขภาพ ประจำปี 2566 3. คณะกรรมการอนุมัติการใช้งบประมาณที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 4. กำกับติดตามผลการดำเนินงานโครงการที่กองทุนฯให้การสนับสนุน 5. รายงานสถานะทางการเงินทุกไตรมาส
6. บันทึกข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ทุกเดือน 7 .สรุปผลการดำเนินงานประจำปี

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีแผนงาน โครงการ ประจำปี
  2. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุนสรุปผลการดําเนินงานของกองทุนฯ
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทําแผนงานโครงการ
  4. การประชุมปรึกษาด้านการบริหารจัดการกองทุนฯ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตุยง
  5. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตุยง ได้ดำเนินการตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  6. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่งถึงและมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2565 13:40 น.