กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวธัญพร สมันตรัฐ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8008-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การป่วยและตายของมารดาและเด็ก ๆ เป็นตัวชี้วัดสภาวะสุขภาพประชากรที่สำคัญ สามารถบอกถึงความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขจึงตั้งเป้าหมายว่าจะให้ประชากรไทยมีอายุขัยเฉลี่ยที่ 80 ปี นโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจึงต้องมุ่งเน้นไปที่จะลดอัตราการตายก่อนวันอันควร การป่วย เเละการตายในกลุ่มแม่และเด็กจึงเป็นกลุ่มแรกที่จะต้องพยายามลดสาเหตุการตายจากปัจจัยต่าง ๆ ให้เหลือน้อยที่สุด แม้ว่าที่ผ่านมาหน่วยบริการสุขภาพจะพยายามปรับปรุงมาตรฐานต่างๆในการให้บริการเเก่หญิงตั้งครรภ์ เเต่ก็ยังมีรายงานอัตราการตายของมารดา เเละทารก ออกมาเป็นระยะๆ ในปี 2565 ตำบลพิมานเอง มีรายงานมารดาเสียชีวิตที่ย้ายถิ่นไปมาระหว่างตำบลคลองขุด ขณะตั้งครรภ์จำนวน 1 ราย ซึ่งเป็นผลจากการไม่ฝากครรภ์ เเละติดเชื้อโควิด19 สาเหตุอีกส่วนนึงเกิดความไม่พร้อมในครอบครัว จะเห็นว่าในความเป็นจริงหญิงตั้งครรภ์ จะใช้ชีวิตที่บ้านเเละใช้เวลากับสถาบันครอบครัว มากกว่าเวลาในการเข้ารับบริการสุขภาพในหน่วยบริการสาธารณะสุข ดังนั้นงานอนามัยเเม่เเละเด็ก กลุ่มงานเวชกรรมสังคม จึงมีความสนใจในการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน โดยใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลในเรื่องความสามารถของผู้ดูเเลในการดูเเลบุคคลที่ต้องการการพึ่งพา(Dependent care Agency) ของโอเร็ม ร่วมกับที่มสหวิชาชีพ เเละชุมชน เพื่อให้ครอบครัว(ผู้ดูเเล)มีศักยภาพที่ดี มีความรู้ มีทักษะ มีคู่มือ เเละเเนวทาง ในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านได้ คาดว่าจะสามารถลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตของมารดาเเละทารกได้ในระดับนึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัว(ผู้ดูเเล)ในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน
  2. ผู้ดูเเลมีรูปแบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน เหมาะสมกับบริบทชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ 2 ครั้ง
  2. จัดประชุมระดมสมองทีมสหวิชาชีพ (brain stroming ) เช่น แก้ปัญหา อุปสรรค ที่พบในการดำเนินงาน ออกเเบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านเป็นต้น
  3. เยี่ยมติดตาม ประเมินความสามารถของผู้ดูเเลในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ ที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูเเลหญฺฺิงตั้งครรภ์ที่บ้าน 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์สุขภาพดี มีความพร้อมสำหรับการคลอดบุตร(แม่เกิดรอดลูกปลอดภัย) 2.ลดอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวมระดับประเทศ
  2. เป็นแนวทางสำหรับพัฒนางานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  3. เป็นต้นแบบให้หน่วยบริการอื่นนำไปเป็นแนวทางในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ 2 ครั้ง

วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน ครอบคลุมองค์รวมแก่หญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน ครั้งที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้การสังเกตอาการผิดปกติ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับหญิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด บรรลุผล
วัตถุประสงค์(Objective) 1.  พัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัว(ผู้ดูแล) ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน ผลลัพธ์ (Outcome) -ผู้ดูแล มีความรู้มีทักษะ ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน ≥ร้อยละ 80


-ผู้ดูแล มีความรู้มีทักษะ ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 86.6

 

0 0

2. จัดประชุมระดมสมองทีมสหวิชาชีพ (brain stroming ) เช่น แก้ปัญหา อุปสรรค ที่พบในการดำเนินงาน ออกเเบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านเป็นต้น

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจง วัตถุประสงค์ และการดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล                     - ติดตามกิจกรรมการเยี่ยมผู้ดูแล และหญิงตั้งครรภ์
                  - ระดมสมองออกแบบคู่มือ และรูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ทบทวนการออกแบบคู่มือ และรูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน ทุกคนเห็นด้วยกับ การออกแบบคู่มือ และ รูปแบบ ฉบับร่าง เตรียมนำไปทำคู่มือฉบับจริง - เสนอ ปัญหา /อุปสรรค การดำเนินงาน และเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไข พบปัญหาการเยี่ยมบ้านผู้ดูแล และหญิงตั้งครรภ์ไม่ตรงกับเวลาเจ้าหน้าที่ จึงแก้ปัญหา โดยการโทรศัพท์สอบถาม ได้คู่มือสำหรับครอบครัว

 

0 0

3. เยี่ยมติดตาม ประเมินความสามารถของผู้ดูเเลในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ ที่บ้าน

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สุ่มเยี่ยมสอบถาม การดูเเลหญิงตั้งครรภ์ กับครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครอบครัวสามารถดูแลได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัว(ผู้ดูเเล)ในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้ดูเเล มีความรู้ มีทักษะ ในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ ที่บ้านมากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 80
0.00

 

2 ผู้ดูเเลมีรูปแบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน เหมาะสมกับบริบทชุมชน
ตัวชี้วัด : มีรูปแบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน เหมาะสมกับบริบทชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
ผู้ดูเเลหญฺฺิงตั้งครรภ์ที่บ้าน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัว(ผู้ดูเเล)ในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน (2) ผู้ดูเเลมีรูปแบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้าน เหมาะสมกับบริบทชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ 2 ครั้ง (2) จัดประชุมระดมสมองทีมสหวิชาชีพ (brain stroming ) เช่น แก้ปัญหา อุปสรรค ที่พบในการดำเนินงาน ออกเเบบการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านเป็นต้น (3) เยี่ยมติดตาม ประเมินความสามารถของผู้ดูเเลในการดูเเลหญิงตั้งครรภ์ ที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านพื้นที่ต้นแบบ ตำบลพิมาน อ.เมือง จ.สตูล จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธัญพร สมันตรัฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด