กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 66-L1507-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนตำบลในควน
วันที่อนุมัติ 23 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 20 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2566
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวัชรพงศ์ รัตนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินหรืออ้วนเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ปัจจัยที่ทำให้มีปัญหาทางโภชนาการส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องทั้งปริมาณและสัดส่วนในแต่ละวัน มีการเคลื่อนไหวออกแรงน้อย รวมทั้งค่านิยมรับประทานอาหาร ถึงแม้จะมีการเฝ้าระวังหรือมีการติดตามอย่างต่อเนื่องก็ตาม
ภาวะโภชนาการเกินส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านตัวเด็ก ครอบครัวสังคมและสิ่งแวดล้อม สำหรับปัจจัยด้านตัวเด็กพบว่า เด็กวัยเรียนที่มีความรู้และทักษะในการเลือกบริโภคอาหารและการออกกำลังกายมีแนวโน้มการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมมากขึ้น (สุนีย์ ปิ่นทรายมูล, 2552) และครอบครัวมีอิทธิพลอย่างมากต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียนที่มี ภาวะโภชนาการเกินโดยเฉพาะพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย (Ruebel, 2010) อีกทั้งโรงเรียนต้องมีนโยบายที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพและมีมาตรการเพื่อการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมการออกกำลังกาย/การทำกิจกรรมทางกายของนักเรียน มีการจัดโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนที่ได้มาตรฐานทางโภชนาการโดยเน้นการบริโภคผัก และจัดให้มีผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ (ลัดดาและคณะ, 2552) ดังนั้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลในควน จึงได้จัดทำโครงการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้เด็กนักเรียนเกิดความตระหนัก สนใจ และกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติจนเป็นนิสัย ส่งผลให้ลดภาวะโภชนาการเกิน และเพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินได้มีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตื่นตัวในการออกกำลังกาย เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายส่งผลให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสการออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุ่งหนองแห้งประชาสรรค์ทุกคนที่มีภาวะโภชนาการเกิน

ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินส่งเสริมและสร้างกระแสการออกกำลังกาย

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน เข้าร่วมโครงการการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคส่งผลให้มีภาวะร่างกายที่เหมาะสม ค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และลดความเสี่ยงจากโรคต่าง ๆ

ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน เข้าร่วมโครงการการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค มีภาวะร่างกายที่เหมาะสม ค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และลดความเสี่ยงจากโรคต่าง ๆ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
??/??/???? ประชาสัมพันธ์โครงการแอโรบิค ให้ทุกคนทราบ 0 0.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 2 1. ตรวจสุขภาพ 0 0.00 -
??/??/???? กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง 0 19,568.00 -
รวม 0 19,568.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2565 14:57 น.