กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง


“ โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีณี ยาหะแม

ชื่อโครงการ โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 010/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทย ซึ่งจากสถิติพบว่ามีการแพร่ระบาดทั่วทุกหมู่บ้านในเขตเมืองและเขตชนบท เป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประเทศ ดังนั้นการดำเนินมาตรการในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค จึงควรดำเนินการครอบคลุมทุกพื้นที่ เน้นในการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในสถานที่สำคัญต่างๆ ได้แก่ บริเวณบ้านเรือนในชุมชน โรงเรียน โรงแรม ศาสนสถาน โรงงาน และสถานที่ราชการ รวมถึงการเตรียมความพร้อมทรัพยากรในการควบคุมโรค มาตรการตรวจวินิจฉัยและดูแลรักษาผู้ป่วยและการสื่อสารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ประชาชนตื่นตัวในการป้องกันโรค ทั้งในช่วงก่อนเข้าฤดูฝน (เดือนมกราคม – เมษายน) ช่วงระบาด (พฤษภาคม - สิงหาคม) ช่วงหลังการระบาด (กันยายน - ธันวาคม) จากข้อมูลรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (506) กองระบาดวิทยา ตั้งแต่เดือน พบว่า พ.ศ. 2565 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นมา มีฝนตกอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ และบางพื้นที่อาจเกิดน้ำท่วมขัง ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ประชาชนสามารถเดินทาง และทำกิจกรรมในสถานที่สาธารณะได้มากขึ้น สำหรับพื้นที่ตำบลบือมัง จากการข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคไข้เลือดออกของตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา 5 ปี ย้อนหลัง พบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกมากที่สุดในปี 2562 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 16 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 223.74 ต่อแสนประชากร รองลงมาปี 2561 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 166.76 ต่อแสนประชากร, ปี 2560 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 55.05 ต่อแสนประชากร, ปี 2563 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 14.06 ต่อแสนประชากร, ปี 2564 - 2565 ไม่มีพบผู้ป่วยไข้เลือดออก และปีงบประมาณ 2566 ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 85.32 ต่อแสนประชากร ตามเกณฑ์กำหนดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 127.16 ต่อแสนประชากร (ข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก โปรแกรม R 506 จังหวัดยะลา) และข้อมูลการคาดการณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2566 มีแนวโน้มที่จะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกมากขึ้น ด้วยการผ่อนคลายมาตรการของโรคโควิด 19 ให้ประชาชนสามารถเดินทางและทำกิจกรรมในสถานที่สาธารณะได้ตามปกติ จึงมีความเสี่ยงที่อุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกจะสูงขึ้นในช่วงฤดูฝน และทำให้เกิดการระบาดต่อเนื่องไปตลอดปี 2566
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของในการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงจัดทำโครงการบ้านบือมัง:บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบือมัง
  2. เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
  4. กิจกรรมคัดเลือกบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก
  5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.และจิตอาสาควบคุมโรค 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีคณะทำงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็วตำบลบือมัง จำนวน 1 ทีม
  2. คณะทำงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็วตำบลบือมัง มีความรู้ความเข้าใจการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. มีกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ใน 3 ร ได้แก่ โรงเรือน (บ้านเรือน) โรงเรียน โรงทาน (มัสยิด) จำนวน 1 ครั้ง
  4. มีตำบลบือมังมีบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ละ 2 หลัง จำนวน 12 หลัง
  5. คณะทำงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็วตำบลบือมัง สามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
  6. ไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบือมัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบือมัง
ตัวชี้วัด : ไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบือมัง ในหมู่เดียวกันในช่วงระยะเวลาติดต่อกัน 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายเเรก
0.00 0.00

 

2 เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ตำบลบือมัง มีบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ละ 2 หลังคาเรือง
0.00 12.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อสม.และจิตอาสาควบคุมโรค 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบือมัง (2) เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (4) กิจกรรมคัดเลือกบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก (5) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านต้นแบบ บ้านบือมัง: สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารีณี ยาหะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด