กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค




ชื่อโครงการ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน 2565 ถึง 15 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566



บทคัดย่อ

โครงการ " ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤศจิกายน 2565 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 504,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุงลายเป็นสัตว์พาหะนำโรคที่สำคัญ เพราะที่ทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ถึง 3 โรค คือ โรคไข้เลือดออกโรคชิคุนกุนยาหรือโรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนของทุกปี จะเป็นฤดูที่มีการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายสูงสุด เนื่องจากฝนที่ตกมาจะทำให้เกิดแหล่งน้ำขังเพาะพันธุ์ยุงลาย ทำให้จำนวนยุงเพิ่มขึ้นมากกว่าช่วงอื่น ๆ ของปี ดังนั้นการกำจัดยุงลายจึงเป็นมาตรการควบคุมและป้องกันโรคที่สำคัญ สำหรับสถานการณ์การเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จากศูนย์ระบาดวิทยาโรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565 พบว่า   1. โรคไข้เลือดออก     ปี พ.ศ.2561 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2561) มีผู้ป่วย จำนวน 128 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2562 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 265 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2563 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2564) มีผู้ป่วย จำนวน 53 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2564 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 14 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2565 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 24 ส.ค. 2565) มีผู้ป่วย จำนวน 9 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต   ถึงแม้ว่าปัจจุบัน สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่จะมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากมีการดำเนินงานในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพซึ่งทำให้เทศบาลนครหาดใหญ่ได้รับรางวัลการบริหารจัดการโรคไข้เลือดออกดีเด่นจากกรมควบคุมโรค เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561 แต่ก็ยังคงวางใจไม่ได้ เนื่องจากปัญหาของการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ มักเกิดจากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ต้องควบคุม
  2. โรคชิคุนกุนยาหรือไข้ปวดข้อยุงลาย     ปี พ.ศ.2561 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2561) มีผู้ป่วย จำนวน 44 ราย     ปี พ.ศ.2562 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 438 ราย     ปี พ.ศ.2563 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2564) มีผู้ป่วย จำนวน 8 ราย
    ปี พ.ศ.2564 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 3 ราย
    ปี พ.ศ.2565 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 24 ส.ค. 2565) ไม่มีผู้ป่วย   สำหรับโรคชิคุนกุนยา พบการระบาดล่าสุดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ.2552 หลังจากนั้นได้ทิ้งช่วงระบาดนานประมาณ 9 ปี โดยไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยา จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561  จึงพบผู้ป่วยรายแรก ถึงแม้อาการของโรคจะไม่รุนแรงถึงจนทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตแต่ก็ทำให้เกิดการปวดในข้อและกระดูกเรื้อรังได้นานเป็นปี   3.  โรคไวรัสซิกา ตั้งแต่ พ.ศ.2561 - พ.ศ.2565 ไม่พบรายงานผู้ป่วยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ทั้ง 3 โรค คือ    โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยาและโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะขึ้น โดยมุ่งเน้นมาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันโรคล่วงหน้าและการเฝ้าระวังป้องกันเชิงรุก การกำจัดยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง รวมถึงการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อให้ ปลอดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ (ทั้งนี้งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ในการกำจัดยุงพาหะ กรณีงบประจำ ไม่เพียงพอในการดำเนินงาน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
  2. 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง เพาะพันธ์ยุงลาย
  3. 3.เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย
  3. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  4. จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 7 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 1. วันที่ 7 เมษายน 2566 ชุมชนภาสว่าง เขต 1 2. วันที่ 11 เมษายน 2566 ชุมชนโรงเรียนชาตรี เขต 1 3. วันที่ 25 เมษายน 2566 ชุมชนละม้ายสงเคราะห์ เขต 2 4. วันที่ 28 เมษายน 2566 ชุมชนกิมหนง-สันติสุข เขต 2 5. วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 ชุมชนศาลาลุงทอง เขต 3 6. วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ชุมชนหลังที่ว่าการอำเภอ เขต 3 7. วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ชุมชนท่าไทร เขต 4 8. วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ชุมชนราษฎร์อุทิศ เขต 4

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

 

50 0

2. ขออนุมัติจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าเคมีภัณฑ์กำจัดยุงตัวเต็มวัย
    จำนวน 100 ลิตร  ราคาลิตรละ 1,900 บาท      เป็นเงิน 190,000 บาท
  2. ค่าสเปรย์กันยุง (ขนาด 30 ซีซี/ขวด)
    จำนวน 300 ขวด  ราคาขวดละ 35 บาท          เป็นเงิน 10,500 บาท
  3. ค่าโลชั่นทากันยุง (ขนาด 8 มล./ซอง) จำนวน 900 ซอง ซองละ 5 บาท                  เป็นเงิน 4,500 บาท
  4. ค่าทรายกำจัดลูกน้ำ (ขนาด 50 กรัม/ซอง)
    จำนวน 25,000 ซอง ราคาซองละ 6 บาท      เป็นเงิน 150,000 บาท
  5. ค่าสารชีวภาพกำจัดลูกน้ำ (กระป๋องละ 500 กรัม) จำนวน 30 กระป๋อง ราคากระป๋องละ 4,500 บาท (ใช้ในการกำจัดลูกน้ำในแหล่งน้ำ)
                                                              เป็นเงิน 135,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ดัชนีความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายในชุมชนมีค่า HI น้อยกว่า 10 (HI < 10) 2.ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายเท่ากับศูนย์ (CI = O)

 

2 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง เพาะพันธ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง มากกว่าร้อยละ 20 (จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี) 2. อัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ได้แก่ โรคชิคุนกุนยา โรคไวรัสซิกา ลดลง

 

3 3.เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน
ตัวชี้วัด : มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ เช่น วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน (2) 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง    เพาะพันธ์ยุงลาย (3) 3.เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย (3) กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (4) จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหนะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด