กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้" ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวดี จารุเศรษฐี

ชื่อโครงการ โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้"

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7252-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7252-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน พบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และแบบแผนการดำเนินชีวิต ส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วย ทั้งด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ และป้องกันไม่ได้ รวมทั้งโรคพื้นฐานที่ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ โรคบางอย่างเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ขาดการจัดการความเครียด จากการสำรวจชุมชนพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ มีปัญหาการออกกำลังกาย และขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง ซึ่งส่งผลต่อภาวะสุขภาพของประชาชน   จากผลการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขของเทศบาลเมืองสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบว่าโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญลำดับต้นที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน จากการสำรวจข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลปี 2564 พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 226 คน จากจำนวนประชากร 21,653 คน คิดเป็นร้อยละ 1.04 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 370 คน จากจำนวนประชากร 21,653 คน คิดเป็นร้อยละ 1.71 สาเหตุสำคัญคือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องและการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ยังขาดความต่อเนื่องในการให้การบริการในเชิงรุกลงไปถึงระดับครอบครัว และชุมชน ทำให้การแก้ปัญหาได้แค่ระดับหนึ่ง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องคิดค้นแนวทางการแก้ปัญหา และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ อีกทั้งในช่วงปีที่ผ่านมาการดำเนินงานNCD เป็นไปด้วยความยากลำบากยิ่งขึ้น เนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.มีภาระกิจเพิ่มขึ้นในการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลในช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด-19) ด้วย ซึ่งเป็นปัญหาอุปสรรคที่สำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่       จากสภาพปัญหาดังกล่าวงานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการ“ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันฯควบคุมได้”ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานของตนเอง โดยการดำเนินงานกิจกรรมต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาของปัจเจกบุคคล ครอบครัว ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อให้มีการเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิต มีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง ต่อการเกิดโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง มีความห่วงใยต่อสุขภาพ ครอบครัว และชุมชน อย่างถาวร ส่งผลให้ทั้งกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและประชาชนมีสุขภาพที่ดี มุ่งให้เกิดการพึ่งตนเองทางสุขภาพเป็นสำคัญ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มศักยภาพ พัฒนาความรู้ความสามารถ และทำความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติงานของอสม.ในพื้นที่ให้มีมากขึ้น เพื่อเป็นการ ยกระดับการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังในระดับตำบลให้ประสบผลสำเร็จ โดยมี อสม.เป็นแกนนำในชุมชน และให้ความช่วยเหลือในด้านการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ ให้แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในช่วงหลังจากการระบาดของโรคโควิด-19 และยังอยู่ในสถานการณ์ที่ต้องเฝ้าระวัง และเตรียมพร้อมรับมือให้ทันต่อสถานการณ์หากมีการระบาดระรอกใหม่ขึ้นมาอีก โดยจัดเป็นการลงพื้นที่ให้บริการถึงบ้าน และเข้าถึงชุมชนทุกพื้นที่ เพื่อลดความแออัด และการรวมกลุ่มกันของประชาชน ป้องกันการระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อ โควิด-19 ในเขตทม.สะเดา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้อสม.ได้เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันฯ และความชำนาญในการใช้อุปกรณ์เจาะ ตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว ตรวจวัดความดันโลหิต 2. เพื่อให้อสม.ได้ค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงใน ชุมชน ลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบปัญหาและข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนและนำ ข้อมูลไปใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. เพื่อให้กลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด โดยอสม. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีโดยอสม.เป็นพี่เลี้ยง 7. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีโดยอสม.พี่เลี้ยง 3. เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,งานศูนย์บริการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 196 คน - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ดี - ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ - ผู้นำชุมชน ได้แก่ กรรมการและประธานกรรมการชุมชน,ผู้นำศาสนา เช่นพระสงฆ์,โต๊ะอี หม่าม, สมาชิกกลุ่มแม่บ้าน ,สมาชิกชมรมต่างๆ เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม.ได้เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันฯ ความชำนาญในการใช้อุปกรณ์เจาะเลือดจากปลายนิ้วเพื่อตรวจค่าระดับน้ำตาล และการตรวจวัดความดันโลหิต
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแล ตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
    3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
    4. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและ ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
    5. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    6. ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้อสม.ได้เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันฯ และความชำนาญในการใช้อุปกรณ์เจาะ ตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว ตรวจวัดความดันโลหิต 2. เพื่อให้อสม.ได้ค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงใน ชุมชน ลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบปัญหาและข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนและนำ ข้อมูลไปใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. เพื่อให้กลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด โดยอสม. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีโดยอสม.เป็นพี่เลี้ยง 7. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีโดยอสม.พี่เลี้ยง 3. เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,งานศูนย์บริการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 196 คน - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ดี - ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ - ผู้นำชุมชน ได้แก่ กรรมการและประธานกรรมการชุมชน,ผู้นำศาสนา เช่นพระสงฆ์,โต๊ะอี หม่าม, สมาชิกกลุ่มแม่บ้าน ,สมาชิกชมรมต่างๆ เป็นต้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.วัตถุประสงค์                    1. เพื่อให้อสม.ได้เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันฯ และความชำนาญในการใช้อุปกรณ์เจาะ ตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว ตรวจวัดความดันโลหิต 2. เพื่อให้อสม.ได้ค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงใน ชุมชน ลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบปัญหาและข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนและนำ ข้อมูลไปใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน  4. เพื่อให้กลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้มีความรู้ และ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด โดยอสม. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีโดยอสม.เป็นพี่เลี้ยง 7. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีโดยอสม.พี่เลี้ยง  3. เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย -  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,งานศูนย์บริการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 196 คน -  ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  -  ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ดี -  ประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้  -  ผู้นำชุมชน ได้แก่ กรรมการและประธานกรรมการชุมชน,ผู้นำศาสนา เช่นพระสงฆ์,โต๊ะอี    หม่าม, สมาชิกกลุ่มแม่บ้าน ,สมาชิกชมรมต่างๆ เป็นต้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ"ชีวิตวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันฯ ควบคุมได้" จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L7252-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาวดี จารุเศรษฐี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด