โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววิลาวัลย์ นุ่นทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG)
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 66-L3323-1-03 เลขที่ข้อตกลง 4/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3323-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพของประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อ มาเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อันเป็นผลสืบเนื่องจาก การพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพใหม่ที่ประสบอยู่ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งมักจะตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง มีอาการอัมพฤกษ์อัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา ขณะเดียวกันผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคเมื่ออายุมากขึ้น มีการถดถอยของการทำงานของร่างกายและสมอง เกิดภาวะพึ่งพิงในการใช้ชีวิตประจำวัน จำนวนผู้ที่มีภาวะพึ่งพาทางกายมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ อย่างไรก็ตามปัจจุบันนอกเหนือจากปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าวแล้ว ยังมีผู้ป่วยอื่นที่เป็นผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ได้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการ ผู้ที่มีภาวะทุพลภาพ อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ผู้ป่วยจิตเวช และภาวะสมองบกพร่อง ผู้มีภาวะพึ่งพิงเป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และมีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ขณะเดียวกันก็มีปัญหาในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมาก ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบบริการในการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาว อาจแบ่งผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงตามภาวะพึ่งพิง หรือความรุนแรงของโรคโดยการคัดกรองของการดูแลผู้ป่วยระยะยาวจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากครอบครัวหรือญาติในการดูแลและให้บริการ รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยให้เอื้อต่อการดูแลด้วย เช่น ที่นอน พื้นบ้าน สถานที่ขับถ่าย ฯลฯ เพื่อให้การดูแลมีประสิทธิผล ทีมสุขภาพจึงจำเป็นต้องออกไปประเมินและให้ คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดูแล และต้องมีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการดูแลด้านสังคมอีกด้วย การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงกำลังเป็นปัญหาท้าทายสังคมไทยมากขึ้นทุกที ตามจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงคือไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ซึ่งตามตัวเลขของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยระบุว่าในปี 2559 ประเทศไทยมีประชากรกลุ่มนี้ประมาณ 4 แสนคน และจะเพิ่มเป็น 1.3 ล้านคนในอีก 20 ปี การเตรียมสร้างระบบเพื่อดูแลสุขภาพของคนกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งจำเป็น ปี 2559 สปสช. จึงได้จัดตั้งกองทุนใหม่เพื่อให้บริการการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง โดยมี CG เป็นกำลังสำคัญ งานหลักคือการลงเยี่ยมบ้านช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง หรือที่บางครั้งเรียกกันว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ดูแลด้านกิจวัตรประจำวัน อาบน้ำ แต่งตัว ป้อนข้าว ป้อนยา คัดกรอง ประเมินปัญหาสุขภาพและให้บริการด้านสุภาพเบื้องต้น โดยให้บริการตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) ซึ่งจะมีบุคลากรด้านสุขภาพที่รับหน้าที่ผู้จัดการเคส (CM) เป็นผู้ทำไว้ให้จึงได้จัดทำโครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร70ชั่วโมง(CG) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(CG)มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยมุ่งหวังให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม สามารถดูแลตนเองได้ ส่งผลให้มีอายุยืนยาวอย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ผ่านการอบรมร้อยละ100
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ผ่านการอบรมร้อยละ 100
0.00
2
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงได้รับการดูแลในโครงการตำบล Long term care ทุกคน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 66-L3323-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววิลาวัลย์ นุ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววิลาวัลย์ นุ่นทอง
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 66-L3323-1-03 เลขที่ข้อตกลง 4/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3323-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพของประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อ มาเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อันเป็นผลสืบเนื่องจาก การพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพใหม่ที่ประสบอยู่ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งมักจะตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง มีอาการอัมพฤกษ์อัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา ขณะเดียวกันผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคเมื่ออายุมากขึ้น มีการถดถอยของการทำงานของร่างกายและสมอง เกิดภาวะพึ่งพิงในการใช้ชีวิตประจำวัน จำนวนผู้ที่มีภาวะพึ่งพาทางกายมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ อย่างไรก็ตามปัจจุบันนอกเหนือจากปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าวแล้ว ยังมีผู้ป่วยอื่นที่เป็นผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ได้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการ ผู้ที่มีภาวะทุพลภาพ อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ผู้ป่วยจิตเวช และภาวะสมองบกพร่อง ผู้มีภาวะพึ่งพิงเป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และมีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ขณะเดียวกันก็มีปัญหาในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมาก ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบบริการในการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาว อาจแบ่งผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงตามภาวะพึ่งพิง หรือความรุนแรงของโรคโดยการคัดกรองของการดูแลผู้ป่วยระยะยาวจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากครอบครัวหรือญาติในการดูแลและให้บริการ รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยให้เอื้อต่อการดูแลด้วย เช่น ที่นอน พื้นบ้าน สถานที่ขับถ่าย ฯลฯ เพื่อให้การดูแลมีประสิทธิผล ทีมสุขภาพจึงจำเป็นต้องออกไปประเมินและให้ คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดูแล และต้องมีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการดูแลด้านสังคมอีกด้วย การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงกำลังเป็นปัญหาท้าทายสังคมไทยมากขึ้นทุกที ตามจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงคือไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ซึ่งตามตัวเลขของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยระบุว่าในปี 2559 ประเทศไทยมีประชากรกลุ่มนี้ประมาณ 4 แสนคน และจะเพิ่มเป็น 1.3 ล้านคนในอีก 20 ปี การเตรียมสร้างระบบเพื่อดูแลสุขภาพของคนกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งจำเป็น ปี 2559 สปสช. จึงได้จัดตั้งกองทุนใหม่เพื่อให้บริการการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง โดยมี CG เป็นกำลังสำคัญ งานหลักคือการลงเยี่ยมบ้านช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง หรือที่บางครั้งเรียกกันว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ดูแลด้านกิจวัตรประจำวัน อาบน้ำ แต่งตัว ป้อนข้าว ป้อนยา คัดกรอง ประเมินปัญหาสุขภาพและให้บริการด้านสุภาพเบื้องต้น โดยให้บริการตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) ซึ่งจะมีบุคลากรด้านสุขภาพที่รับหน้าที่ผู้จัดการเคส (CM) เป็นผู้ทำไว้ให้จึงได้จัดทำโครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร70ชั่วโมง(CG) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(CG)มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยมุ่งหวังให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม สามารถดูแลตนเองได้ ส่งผลให้มีอายุยืนยาวอย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ผ่านการอบรมร้อยละ100
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตัวชี้วัด : 1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ผ่านการอบรมร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงได้รับการดูแลในโครงการตำบล Long term care ทุกคน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 70 ชั่วโมง (CG) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 66-L3323-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววิลาวัลย์ นุ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......