กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม" ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายนราพงษ์ สุขใส




ชื่อโครงการ โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม"

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3323-2-01 เลขที่ข้อตกลง 31/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม" จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3323-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านไทรงาม หมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จากข้อมูลประชากรที่เข้าร่วมคัดกรองตรวจสุขภาพ จำนวน 48 ราย ตามโครงการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ ประจำปีงบประมาณ 2656 ในโครงการพระราชดำริด้านสาธารณสุข ในช่วงอายุ 35 ปีขึ้นไป นั้น
พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับด้านสุขภาพในเรื่องของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วน ในอัตราที่เสี่ยงสูง     จากการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกิดมากจากคนในช่วงวัยดังกล่าว ยังมีกลุ่มเป้าหมายที่สนใจอีกจำนวนหนึ่งที่สนใจจะตรวจสุขภาพ ซึ่งสาเหตุหลักของกลุ่มเป้าหมายที่พบมาจากการใช้วิถึชีวิต พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม กินเกิน กินแล้วไม่ค่อยออกกำลังกาย ไม่ตระหนักไม่ตื่นตัวในการดูแลสุขภาพ และไม่สนใจเรื่องของอาหารที่ก่อให้เกิดภาวะที่จะทำให้เกิดโรคที่เสี่ยงต่อร่างกาย
จากสาเหตุสภาพปัญหาดังกล่าวนำไปสู่การหารือกันระหว่างผู้นำหมู่บ้าน แกนนำและคนในชุมชน โดยผ่านเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านประกอบกับการนำแผนชุมชน แผนพัฒนาหมู่บ้านมาให้ในด้านสุขภาพ จึงได้เล็งเห็นตรงกันในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน เพื่อรู้เท่า รู้ทันโรคภัยต่อสุขภาพ และค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วย ที่จะได้รับการรักษาและแก้ไขได้ทันท่วงที ทางผู้นำหมู่บ้านหมู่ที่ 11 บ้านไทรงาม จึงได้จัดทำโครงการ “รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม” ขึ้น เพื่อให้คนในชุมชนได้คัดกรองและตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องและคลอบคลุมทุกวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคของคนในชุมชน
  2. 2.เพื่อคัดกรองและประเมินความเสียงด้านสุขภาพของคนในชุมชน
  3. ข้อที่ 3.เพื่อเป็นฐานข้อมูลของชุมชนในการเฝ้าระวังและส่งเสริมดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินโครงการ/ปิดดครงการ
  2. 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพ / คัดกรองข้อมูลด้านสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
  3. 2. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างทั่วถึง 2.ประชาชนเกิดความตื่นตัว และตระหนักต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 3.ชุมขนมีข้อมูล มีมาตรการและวิธีในการส่งเสริมสุขภาพ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายหลักสมัครเข้าร่วมโครงการอย่างทั่วถึง

 

2 2.เพื่อคัดกรองและประเมินความเสียงด้านสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1ชุมชนมีข้อมูล มีมาตรการในการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อเป็นฐานข้อมูลของชุมชนในการเฝ้าระวังและส่งเสริมดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีฐานข้อมูล กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วย ในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคของคนในชุมชน (2) 2.เพื่อคัดกรองและประเมินความเสียงด้านสุขภาพของคนในชุมชน (3) ข้อที่ 3.เพื่อเป็นฐานข้อมูลของชุมชนในการเฝ้าระวังและส่งเสริมดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินโครงการ/ปิดดครงการ (2) 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพ / คัดกรองข้อมูลด้านสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ (3) 2. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ "รู้เท่า รู้ทัน โรคไม่ติดต่อที่บ้านไทรงาม" จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3323-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนราพงษ์ สุขใส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด